Skip to main content
เมื่อวันที่ 22 ก.พ.61 มิวเซียมสยาม จัดงานเสวนา "Museum Infocus 2018" ในหัวข้อ “งานการศึกษาในพิพิธภัณฑ์เพื่อผู้พิการ” โดยมี เบญจวรรณ พลประเสริฐ ภัณฑารักษ์พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย, บุรินทร์ สิงห์โตอาจ นักการศึกษาอิสระ และยุภาพร ธัญวิวัฒน์กุล นักการศึกษามิวเซียมสยาม ร่วมเล่าประสบการณ์การจัดงาน
ครั้งแรกที่คุณเคยคุยกับคนพิการคือที่ไหน ริมถนน บนฟุตปาธ ที่งานกาชาด หรือแผงหวย แล้วอะไรทำให้คุณได้มีโอกาสรู้จักพวกเขา เพราะเป็นคนรู้จัก เป็นญาติ เป็นเพื่อนบ้าน หรือคุณอยากรู้จักเพราะรู้สึกสงสาร พวกคุณคุยกันเรื่องอะไร ชีวิต การเมือง ท่องเที่ยว หรือเวรกรรม ผมไม่มั่นใจนักว่าแต่ละคนจะชวนอีก
เว็บไซต์บีบีซีนำเสนอเรื่องราวของสเตฟ ซานจาติ ยูทูปเบอร์สาวข้ามเพศ ที่สร้างแรงบันดาลใจจากการก้าวข้ามความพิการและอคติเรื่องเพศ แม้จะเคยถูกเรียกว่า คนหน้าปลา หรือกีดกันจากกลุ่มเด็กผู้ชายเมื่อเธอเปิดตัวว่าเป็นเกย์ แต่สเตฟในวันนี้กลับเป็นแรงบันดาลใจและมีความสุขกับความแตกต่างของตัวเอง
หลายคนมักเข้าใจว่า สิ่งอำนวยความสะดวก (Accessibility) และการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) เป็นเรื่องที่ทำขึ้นเพื่อคนพิการ แต่จริงๆ แล้วทั้งสองอย่างนี้ไม่ได้มีประโยชน์เฉพาะแค่กับคนพิการ เพราะสิ่งอำนวยความสะดวกและพื้นที่ที่เหมาะสม ช่วยให้คนทุกคนใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ถ้าห้องน้
อาจารย์เทคโนโลยีราชมงคลพระนครออกแบบโต๊ะสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย ไม่ว่าจะใช้มือ เท้าหรือปากในการเขียนก็สามารถทำได้อย่างสะดวก เชื่ออุปกรณ์ที่เหมาะสมจะช่วยให้การสอนมีประสิทธิภาพ
ถ้านิยามความรักว่าต้องเป็นเรื่องของคนสองคนที่มีอะไรคล้ายกัน ก็แสดงว่าคนพิการต้องคู่กับคนพิการ อย่างงั้นเหรอ ?
เมื่อ 8 ปีก่อน อีวาน โอเวนซิ่งนักออกแบบหุ่นยนต์และกลไกในภาพยนตร์ “ทรานฟอร์เมอร์” ได้ออกแบบนิ้วเทียมและพิมพ์ด้วยเครื่องมือสามมิติเพื่อให้ช่างไม้ชาวแอฟริก้าใต้ที่ถูกเครื่องจักรตัดนิ้วมือทดลองใช้ และปรากฎว่าสามารถใช้งานได้อย่างดี จนนำไปใช้กับกลุ่คนที่ประสบอุบัติเหตุจนพิการ และขยายไปทดลองใช้กับกลุ่มเด็กที่ถูกถุงน้ำคร่ำรัดมือจนไม่ไม่นิ้วขณะอยู่ในครรภ์อีกด้วย
เราเริ่มต้นด้วยการถามว่า คำถามไหนที่เจอบ่อยและขี้เกียจตอบแล้ว เพราะที่ผ่านมา จิระ ชนะบริบูรณ์ชัย เจ้าของแบรนด์ ONCE แบรนด์เสื้อที่มีจุดเด่นตรงที่คนตาบอดสามารถอ่านสีและไซส์ของเสื้อได้จากอักษรเบรลล์ที่อยู่ด้านหลังนั้นต้องตอบคำถามเหล่านี้มากกว่า
         ผมค่อยๆ เขยกเท้าขึ้นสะพานลอยแบบทุลักทุเล มันทั้งเจ็บและทรมาน แผลจากการเหยียบหินตอนไปทะเลมีครบทั้งสองข้าง เท้าแทบลงน้ำหนักเวลาเดินไม่ได้ ทั้งที่ไม่ได้มีใครเดินตามมา เรากลับกังวลว่า คนที่จะเดินตามมาเขาจะหาว่าเราเดินช้า ทั้งหมดเป็นความกังวลของตัวเองล้วนๆ ผมอยู่บนสะพ
เมื่อวันที่ 25 ม.ค.2561 สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ และกระทรวงสาธารณะสุข ได้จัดการประชุมเชิงวิชาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน (CBR Forum 2018) โดยมีเวที “เพราะเด็กก็คือเด็ก ” (Because a child is a child)  ซึ่งได้รับความสนใจและมีผู้ร่วมเสวนาหลายคน ได้แก่ ปิยะนุช ชัชวรัตน์ ประธานศูนย์บ้านทอฝัน สมาคมสมาคมพัฒนาศักยภาพบุคคลออทิสติก จ.เชียงราย, ดร.สุจินต์ สว่างศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนลพบุรีปัญญานุกุล จ.ลพบุรี, ประสานทอง จันทมณี ผู้อำนวยการโรงเรียนเขากลอย จ.สงขลาและจันทนา เจริญวิริยะภาพ ประธานชมรมผู้บกพร่องทางการเรียนรู้ จ.สงขลา