Skip to main content
ไทยสมายล์ เปิดตัวการบริการ "อักษรเบรลล์" และ "ภาษามือ" เพื่ออำนวยความสะดวกคนพิการทางสายตาและการได้ยินเข้าถึงระเบียบความปลอดภัยและการปฏิบัติตัวบนเครื่องบิน
เราเจอบุญรอดครั้งแรกตอนที่เราทั้งคู่กำลังจะสอบเข้ามหาวิทยาลัย เขานั่งอยู่บนม้านั่งตรงนั้นเหมือนไม่มีความพิการ จนเขาเริ่มเดิน ท่าเดินที่โยกไปโยกมา บวกกับแขนที่เกร็งก็พอทำให้เรารู้ว่า มีบางอย่างผิดปกติ แต่สิ่งที่แตะความสนใจของเรากลับไม่ใช่ความผิดปกตินั้น แต่เป็นความช่างคุยและความเป็น 'ผู้หญิง' ในตั
งานวิจัยชิ้นล่าสุดพบว่า เลือดและปัสสาวะสามารถวินิจฉัยภาวะออทิสติกได้ โดยอาศัยสารชี้วัดทางชีวภาพ (biomarker) ที่มีอยู่ในของเหลวทั้งสองชนิดระบุภาวะความพิการในเด็กอายุน้อย ซึ่งใช้เวลาตรวจเพียงหนึ่งวันเท่านั้น
อาทิตย์ที่แล้วเราได้รับอีเมลฉบับหนึ่งจากคณะ แจ้งว่าตอนนี้ตึกภาคเพิ่งเปลี่ยนประตูทางเข้าให้เป็นแบบเปิดปิดอัตโนมัติ ต่อจากนี้ไปจะเข้า จะออก ไม่ต้องเอื้อมไปจับลูกบิดเปิดประตูแล้ว แต่ให้กดปุ่มรูปวีลแชร์ที่ผนังแทน แล้วประตูจะเปิดเอง
สัปดาห์แรกของโครงการ Accessibility and Universal Design 2017/2018 เพิ่งผ่านพ้นไป สัปดาห์ที่ผ่านมาเป็นสัปดาห์แห่งการเริ่มต้น ทำความรู้จัก และปรับตัว เราและเพื่อนคนพิการอีก 16 คนจาก 6 ชาติอาเซียนเริ่มเข้าขากันมากขึ้น รวมถึงเริ่มคุ้นเคยกับกระบวนกรและอาสาสมัครที่คอยมาช่วยเหลือดูแล การมามาเลเซียครั้งนี้ นับเป็นเรื่องแปลกใหม่ที่ดึงดูดใจเรามากขึ้นเรื่อยๆ ในทุกวัน เพราะได้เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับ Accessibility and Universal Design ตั้งแต่ขั้นเริ่มต้น ชนิดที่ต้องถามกันว่า Accessibility and Universal Design คืออะไร? จนกระทั่งการหาคำตอบของคำถามที่ว่า คนพิการอย่างเราจะสามารถตรวจสอบมาตรฐานของการเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกและการออกแบบเพื่อคนทั้งมวลได้อย่างไร?
เมื่อวันที่ 22 ก.พ.61 มิวเซียมสยาม จัดงานเสวนา "Museum Infocus 2018" ในหัวข้อ “งานการศึกษาในพิพิธภัณฑ์เพื่อผู้พิการ” โดยมี เบญจวรรณ พลประเสริฐ ภัณฑารักษ์พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย, บุรินทร์ สิงห์โตอาจ นักการศึกษาอิสระ และยุภาพร ธัญวิวัฒน์กุล นักการศึกษามิวเซียมสยาม ร่วมเล่าประสบการณ์การจัดงาน
หลายคนมักเข้าใจว่า สิ่งอำนวยความสะดวก (Accessibility) และการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) เป็นเรื่องที่ทำขึ้นเพื่อคนพิการ แต่จริงๆ แล้วทั้งสองอย่างนี้ไม่ได้มีประโยชน์เฉพาะแค่กับคนพิการ เพราะสิ่งอำนวยความสะดวกและพื้นที่ที่เหมาะสม ช่วยให้คนทุกคนใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ถ้าห้องน้
อาจารย์เทคโนโลยีราชมงคลพระนครออกแบบโต๊ะสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย ไม่ว่าจะใช้มือ เท้าหรือปากในการเขียนก็สามารถทำได้อย่างสะดวก เชื่ออุปกรณ์ที่เหมาะสมจะช่วยให้การสอนมีประสิทธิภาพ
เมื่อ 8 ปีก่อน อีวาน โอเวนซิ่งนักออกแบบหุ่นยนต์และกลไกในภาพยนตร์ “ทรานฟอร์เมอร์” ได้ออกแบบนิ้วเทียมและพิมพ์ด้วยเครื่องมือสามมิติเพื่อให้ช่างไม้ชาวแอฟริก้าใต้ที่ถูกเครื่องจักรตัดนิ้วมือทดลองใช้ และปรากฎว่าสามารถใช้งานได้อย่างดี จนนำไปใช้กับกลุ่คนที่ประสบอุบัติเหตุจนพิการ และขยายไปทดลองใช้กับกลุ่มเด็กที่ถูกถุงน้ำคร่ำรัดมือจนไม่ไม่นิ้วขณะอยู่ในครรภ์อีกด้วย
เราเริ่มต้นด้วยการถามว่า คำถามไหนที่เจอบ่อยและขี้เกียจตอบแล้ว เพราะที่ผ่านมา จิระ ชนะบริบูรณ์ชัย เจ้าของแบรนด์ ONCE แบรนด์เสื้อที่มีจุดเด่นตรงที่คนตาบอดสามารถอ่านสีและไซส์ของเสื้อได้จากอักษรเบรลล์ที่อยู่ด้านหลังนั้นต้องตอบคำถามเหล่านี้มากกว่า