Skip to main content
“เราไม่เคยคิดว่าวันหนึ่งจะได้พูดในสภาฯ แทนผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้า นี่เป็นหมุดหมายสำคัญมากตั้งแต่เข้ามาเป็น ส.ส.
ทุกวันนี้คนเริ่มหันมาสนใจกับสุขภาพเท้ามากขึ้น เห็นจากจำนวนคนรีแอคชั่นคอนเทนต์เท้าแบนบนสื่อโซเซียลมีเดียเป็นจำนวนมากหรือบูธผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเท้าที่โฆษณาให้ตรวจเช็คลักษณะเท้าได้ฟรีมีคนยืนต่อแถวรอวัดสุขภาพเท้าเพื่อผลิตแผ่นรองเท้าด
“บ้านที่มีฐานะหน่อยเขาก็ดูแลลูกด้วยตัวเอง มีครอบครัวหนึ่งเขาขับรถไปส่งลูกที่จังหวัดศรีสะเกษ ไปกลับโรงเรียนวันละ 110 กิโลเมตร แม่ต้องไปรอลูกเรียนเสร็จแล้วค่อยกลับ ทำมาหลายปี คำถามก็คือถ้าเศรษฐกิจเขาไม่ดี เขาก็ทำแบบนี้ไม่ได้ ปัญหาสำคัญก็คือทางเลือกของเด็กพิการมีน้อยมากๆ ในสั
เวลาเล่นสื่อโซเชียลมีเดีย หนึ่งโพสต์ที่หลายคนเห็นผ่านตาคงเป็นโพสต์ของเพื่อนหรือคนรู้จักโพสต์ข้อความบรรยายความเจ็บปวดทรมานจากการป่วยเป็นโรคจิตเวช บางคนเศร้าหดหู่จนไม่อยากทำอะไรทั้งสิ้น บางคนไม่มีสมาธิจดจ่อทำอะไรนานๆ  บางคนได้รั
“ไอโฟนพังไป 10 เครื่องครับ พังก็ซื้อใหม่ จนเครื่องหลังๆ ต้องมีประกัน เคลมจนคุ้ม เคลมมาเก็บไว้ ตอนนี้ใช้โนเกีย 110 ตกเท่าไรก็ไม่พัง”
Thisable.me ชวนคุยกับ ผศ.ดร.ธีรวรรณ ธีระพงษ์ อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เจ้าของวิชาเลือกเสรีอย่างวิชาการพัฒนาการตระหนักรู้ในตน (Self-Awareness) ที่เขาคร่ำวอดกับคำๆ นี้และวิชานี้ยาวนานสิบกว่าปี มาพูดคุยกันว่า Self-Awareness และสุขภาพจิตมีความสัมพันธ์กันแบบไหน แ
“ทุก 40 วินาที จะมี 1 ชีวิตที่สูญไปจากการทำร้ายตัวเอง คุณสามารถช่วยพวกเขาได้” 
ในไทยอาชีพผู้ช่วยคนพิการอาจยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก บางคนก็เข้าใจว่าผู้ช่วยคือพี่เลี้ยง ญาติ เพื่อน ฯลฯ แต่แท้จริงแล้วอาชีพนี้มีชื่อเรียกและเป็นอาชีพที่ต้องอาศัยทักษะ ความเข้าใจ และต้องเคร่งครัดไม่ต่างจากอาชีพอื่น
“ตาบอดแล้วยังเดินห้างได้ สุดยอด“พิการแล้วยังเรียนจบปริญญาได้อีก “สวยนะแต่ไม่น่าพิการเลย”