Skip to main content
เวลาเล่นสื่อโซเชียลมีเดีย หนึ่งโพสต์ที่หลายคนเห็นผ่านตาคงเป็นโพสต์ของเพื่อนหรือคนรู้จักโพสต์ข้อความบรรยายความเจ็บปวดทรมานจากการป่วยเป็นโรคจิตเวช บางคนเศร้าหดหู่จนไม่อยากทำอะไรทั้งสิ้น บางคนไม่มีสมาธิจดจ่อทำอะไรนานๆ  บางคน
“ไอโฟนพังไป 10 เครื่องครับ พังก็ซื้อใหม่ จนเครื่องหลังๆ ต้องมีประกัน เคลมจนคุ้ม เคลมมาเก็บไว้ ตอนนี้ใช้โนเกีย 110 ตกเท่าไรก็ไม่พัง”
Thisable.me ชวนคุยกับ ผศ.ดร.ธีรวรรณ ธีระพงษ์ อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เจ้าของวิชาเลือกเสรีอย่างวิชาการพัฒนาการตระหนักรู้ในตน (Self-Awareness) ที่เขาคร่ำวอดกับคำๆ นี้และวิชานี้ยาวนานสิบกว่าปี มาพูดคุยกันว่า Self-Awareness และสุขภาพจิตมีความสัมพันธ์กันแบบไหน แ
“ทุก 40 วินาที จะมี 1 ชีวิตที่สูญไปจากการทำร้ายตัวเอง คุณสามารถช่วยพวกเขาได้” 
ในไทยอาชีพผู้ช่วยคนพิการอาจยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก บางคนก็เข้าใจว่าผู้ช่วยคือพี่เลี้ยง ญาติ เพื่อน ฯลฯ แต่แท้จริงแล้วอาชีพนี้มีชื่อเรียกและเป็นอาชีพที่ต้องอาศัยทักษะ ความเข้าใจ และต้องเคร่งครัดไม่ต่างจากอาชีพอื่น
“ตาบอดแล้วยังเดินห้างได้ สุดยอด“พิการแล้วยังเรียนจบปริญญาได้อีก “สวยนะแต่ไม่น่าพิการเลย”
ปัญหาติดหน้าจอเป็นปัญหาใหญ่ของครอบครัวที่มีลูกหูหนวก เพราะเมื่อพ่อแม่ใช้ภาษามือไม่เป็น ลูกก็ไม่สามารถสื่อสารกันได้อย่างเข้าใจเด็กๆ จึงง่วนอยู่กับน่าจอที่มีภาพแสดงท่าทางต่างๆ  นี่ไม่ใช่เรื่องแปลกที่เกิดขึ้น หากแต่เป็นเรื่องปกติที่ครอบครัวหูหนวกต้องเจอ เมื่อการสื่อสารภาษามือยังเป็นเรื่องที่เ
เชื่อว่าหลายคนอาจจะคุ้นตาโพสต์แนะนำให้ใช้บริการคนตาบอดช่วยถอดเทปผ่านหน้าเฟซบุ๊ก หนำซ้ำโพสต์เหล่านั้นยังมีตัวอย่างงานถอดเทปให้เห็นว่า คุณภาพผลงานของคนตาบอดทำได้ดีไม่แพ้คนตาดีเลย
ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาหากกล่าวถึงชื่ออินฟลูฯท่านหนึ่งอย่าง หนูรัตน์หรือเฮเลน - สุภัคชญา ชาวคูเวียง ก็คงไม่มีใครไม่รู้จักเธอ เพราะนอกจากความน่ารัก สดใสแล้ว การพูดไม่ชัดและความเป็นคนซื่อยังเป็นเอกลักษณ์ที่ทำให้ใครหลายคนรู้สึกเอ็น