Skip to main content
อาทิตย์ที่แล้วเราได้รับอีเมลฉบับหนึ่งจากคณะ แจ้งว่าตอนนี้ตึกภาคเพิ่งเปลี่ยนประตูทางเข้าให้เป็นแบบเปิดปิดอัตโนมัติ ต่อจากนี้ไปจะเข้า จะออก ไม่ต้องเอื้อมไปจับลูกบิดเปิดประตูแล้ว แต่ให้กดปุ่มรูปวีลแชร์ที่ผนังแทน แล้วประตูจะเปิดเอง
สัปดาห์แรกของโครงการ Accessibility and Universal Design 2017/2018 เพิ่งผ่านพ้นไป สัปดาห์ที่ผ่านมาเป็นสัปดาห์แห่งการเริ่มต้น ทำความรู้จัก และปรับตัว เราและเพื่อนคนพิการอีก 16 คนจาก 6 ชาติอาเซียนเริ่มเข้าขากันมากขึ้น รวมถึงเริ่มคุ้นเคยกับกระบวนกรและอาสาสมัครที่คอยมาช่วยเหลือดูแล การมามาเลเซียครั้งนี้ นับเป็นเรื่องแปลกใหม่ที่ดึงดูดใจเรามากขึ้นเรื่อยๆ ในทุกวัน เพราะได้เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับ Accessibility and Universal Design ตั้งแต่ขั้นเริ่มต้น ชนิดที่ต้องถามกันว่า Accessibility and Universal Design คืออะไร? จนกระทั่งการหาคำตอบของคำถามที่ว่า คนพิการอย่างเราจะสามารถตรวจสอบมาตรฐานของการเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกและการออกแบบเพื่อคนทั้งมวลได้อย่างไร?
“ไว้จะรอเธอเดินได้นะ"ฟังเผินๆ อาจจะไม่มีอะไร แต่คำตอบของเขาทำผมรู้สึกจุกจนพูดอะไรไม่ออก เหมือนพูดว่า “ไว้เดินได้ค่อยมาคุยกัน”
“เลิกกันเถอะ ที่ผ่านมาเราคบกับเธอ เราไม่ได้รักเธอ เราแค่สงสาร”
เมื่อวันที่ 22 ก.พ.61 มิวเซียมสยาม จัดงานเสวนา "Museum Infocus 2018" ในหัวข้อ “งานการศึกษาในพิพิธภัณฑ์เพื่อผู้พิการ” โดยมี เบญจวรรณ พลประเสริฐ ภัณฑารักษ์พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย, บุรินทร์ สิงห์โตอาจ นักการศึกษาอิสระ และยุภาพร ธัญวิวัฒน์กุล นักการศึกษามิวเซียมสยาม ร่วมเล่าประสบการณ์การจัดงาน
ครั้งแรกที่คุณเคยคุยกับคนพิการคือที่ไหน ริมถนน บนฟุตปาธ ที่งานกาชาด หรือแผงหวย แล้วอะไรทำให้คุณได้มีโอกาสรู้จักพวกเขา เพราะเป็นคนรู้จัก เป็นญาติ เป็นเพื่อนบ้าน หรือคุณอยากรู้จักเพราะรู้สึกสงสาร พวกคุณคุยกันเรื่องอะไร ชีวิต การเมือง ท่องเที่ยว หรือเวรกรรม ผมไม่มั่นใจนักว่าแต่ละคนจะชวนอีก
เว็บไซต์บีบีซีนำเสนอเรื่องราวของสเตฟ ซานจาติ ยูทูปเบอร์สาวข้ามเพศ ที่สร้างแรงบันดาลใจจากการก้าวข้ามความพิการและอคติเรื่องเพศ แม้จะเคยถูกเรียกว่า คนหน้าปลา หรือกีดกันจากกลุ่มเด็กผู้ชายเมื่อเธอเปิดตัวว่าเป็นเกย์ แต่สเตฟในวันนี้กลับเป็นแรงบันดาลใจและมีความสุขกับความแตกต่างของตัวเอง
หลายคนมักเข้าใจว่า สิ่งอำนวยความสะดวก (Accessibility) และการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) เป็นเรื่องที่ทำขึ้นเพื่อคนพิการ แต่จริงๆ แล้วทั้งสองอย่างนี้ไม่ได้มีประโยชน์เฉพาะแค่กับคนพิการ เพราะสิ่งอำนวยความสะดวกและพื้นที่ที่เหมาะสม ช่วยให้คนทุกคนใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ถ้าห้องน้
อาจารย์เทคโนโลยีราชมงคลพระนครออกแบบโต๊ะสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย ไม่ว่าจะใช้มือ เท้าหรือปากในการเขียนก็สามารถทำได้อย่างสะดวก เชื่ออุปกรณ์ที่เหมาะสมจะช่วยให้การสอนมีประสิทธิภาพ
ถ้านิยามความรักว่าต้องเป็นเรื่องของคนสองคนที่มีอะไรคล้ายกัน ก็แสดงว่าคนพิการต้องคู่กับคนพิการ อย่างงั้นเหรอ ?