Skip to main content
เขียนโดย จินต์จุฑา พันธุ์ทองคำและ พลอยวรินทร์ ชิวารักษ์งานชิ้นนี้เป็นผลงานจากรายวิชา สิทธิมนุษยชนและวารสารศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
เชื่อว่าหลายคนอาจจะคุ้นตาโพสต์แนะนำให้ใช้บริการคนตาบอดช่วยถอดเทปผ่านหน้าเฟซบุ๊ก หนำซ้ำโพสต์เหล่านั้นยังมีตัวอย่างงานถอดเทปให้เห็นว่า คุณภาพผลงานของคนตาบอดทำได้ดีไม่แพ้คนตาดีเลย
ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาหากกล่าวถึงชื่ออินฟลูฯท่านหนึ่งอย่าง หนูรัตน์หรือเฮเลน - สุภัคชญา ชาวคูเวียง ก็คงไม่มีใครไม่รู้จักเธอ เพราะนอกจากความน่ารัก สดใสแล้ว การพูดไม่ชัดและความเป็นคนซื่อยังเป็นเอกลักษณ์ที่ทำให้ใครหลายคนรู้สึกเอ็น
“ถ้าแขกไม่ให้สีไม้ 36 สีกับมือเด็ก สีเหล่านั้นไม่มีทางมาถึงมือเด็กพิการในสถานสงเคราะห์แน่นอน เพราะไปอยู่กับลูกผู้ดูแลหมด บางทีแมจะให้กับมือเด็กโดยตรงแต่พอไปถึงตึกนอน เจ้าหน้าที่ก็เอาอย่างอื่นมาขอแลก หรือมากดดันว่าจะต้องเอาของอันนั้นให้เขา”
เพราะ พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการที่ล้าสมัย ทำให้คนพิการถูกละเมิดสิทธิการออกแบบอาคารที่คนพิการใช้งานไม่ได้แม้มีหลัก Universal Design แต่ทว่าทางลาดก็ชันดั่งยอดเขาเอเวอเรสต์ 
กฏหมายคนพิการดีอยู่แล้ว แต่ที่ผ่านมาบังคับใช้ไม่ได้ นี่คือความคิดของพรรคเปลี่ยนอนาคต ที่ต้องการเข้ามาทำให้สิทธิคนพิการเกิดขึ้นจริงจากนโยบายและกฏหมายที่มีอยู่เดิม 
เพราะความเชื่อว่า ‘คนไม่เท่ากัน’ ทำให้พรรคชาติพัฒนากล้า พรรคน้องใหม่ไม่มีนโยบายรัฐสวัสดิการและการให้เบี้ยยังชีพคนพิการ 3,000 บาทเหมือนกับพรรคอื่นๆ แต่มองว่าการมีงานทำจะช่วยให้คนพิการดำรงชีวิตได้ด้วยตนเองและรู้สึกมีคุณค่าอย่างยั่งยืน 
ในฐานะพรรคที่เคยมี ส.ส.ในสภาฯ เป็นคนพิการ พรรคก้าวไกลในการเลือกตั้งครั้งนี้ ก็ยังคงทำงานเรื่องคนพิการอย่างต่อเนื่อง 
หากนึกถึงพรรคการเมืองพรรคใหญ่ หนึ่งในนั้นคงหนีไม่พ้นพรรคเพื่อไทย ซึ่งเป็นพรรคที่เป็นที่รู้จักของใครหลายคนรวมทั้งคนพิการ ชวนอ่านนโยบายผ่านบทสัมภาษณ์ชานันท์ ยอดหงษ์  ผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่ออันดับ 62 ของพรรคเพื่อไทย