Skip to main content
เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 ฉัตรสุดา จันทร์ดียิ่ง กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ในฐานะกำกับดูแลงานด้านสิทธิผู้สูงอายุ คนพิการ เด็ก การศึกษาและการสาธารณสุข เปิดเผยถึงการประชุมหารือร่วมกับกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พก.) กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) สำนักงานคณะกรรมกา
ภาพลักษณ์ของวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล คือวิทยาลัยของคนพิการ เพราะอะไรน่ะหรือ?เพราะราชสุดามีนักศึกพิการเรียนอยู่เป็นจำนวนมาก ดังที่เราจะเห็นพวกเขาเดินไปพร้อมไม้เท้าขาว วีลแชร์ หรือพูดคุยกันผ่านภาษามือ ชวนคุยกับแพทย์หญิงวัชรา ริ้วไพบูลย์ คณบดีวิทยาลัยราชสุดา ถึงการศึกษาในเรื่องความพิการ และความเป็นไปได้ของการทำงานในเรื่องนโยบายคนพิการที่วิทยาลัยพยายามผลักดัน
Scene  1 ดาบของเล่นภายนอก / ลานกิจกรรมของโรงเรียนเศรษฐเสถียร / กลางวันซอล ซอล... มี ซอล ลา โด... เร โด ลา... ซอล ซอล มี...  เสียงเพลงลอยกระทงจากการเขย่าอังกะลุงดังขึ้น พร้อมๆ กับเสียงเคาะกระดานเพื่อกำกับจังหวะ เด็กๆ ที่กำลังถือเครื่องดนตรีต่างจดจ้องไปที่ปลายของดาบไม้ของเล่นซึ่งเป็นตัวแทนของไม้บาตอง ต่างคนต่างรอให้คุณครูเคาะจนถึงตัวโน้ตของตัวเอง บางคนก็เหลือบมองคุณครูอีกคนที่กำลังปรบมืออยู่และพยายามเล่นให้ตรงจังหวะ   คุณครู“เก่งมาก คราวนี้ครูขอเพิ่มลูกหมด แต่ให้เพื่อนเป็นคนนำนะ”เมื่อคุณครูเขียนโน้ตชุดใหม่บนกระดานเสร็จ ก็ส่งสัญญาณไปยังนักเรียนที่ได้รับมอบหมายให้เป็นคอนดักเตอร์ เด็กหญิงเดินออกมายืนด้านหน้า สูดหายใจเข้าลึกๆ กวาดตามองโน้ตชุดใหม่รอบหนึ่ง นับหนึ่ง สอง สาม ก่อนจะยกมือของเธอขึ้นมาเคลื่อนไหวเป็นสัญลักษณ์ของโน้ตดนตรี เพื่อนๆ ของเธอต่างจดจ้องไปที่มือที่กำลังเคลื่อนไหวนั้นอย่างมีสมาธิ รอจนถึงคิวของตัวเองก็เขย่าอังกะลุงตามสัญลักษณ์มือนั้นๆ แม้จังหวะจะเหลื่อมๆ หรือเร็วเกินไปบ้าง พวกเขาก็ประคับประคองกันไปได้จนจบเพลง   คุณครู“ลองอีกรอบนะ คราวนี้ให้เพื่อนลองเคาะจังหวะ ส่วนพวกเราก็ดูโน้ตตามไปนะ” คุณครูยื่นดาบของเล่นให้กับเด็กหญิง เธอรับมาด้วยความเคยชิน ก่อนจะลองเคาะเป็นจังหวะเบาๆ บนกระดานที่เต็มไปด้วยตัวโน้ตอันไม่คุ้นเคย ไม่นานนักเธอก็ส่งสัญญาณมือให้เพื่อนๆ รับรู้ว่าเธอกำลังจะเริ่มกำกับมันในไม่ช้านี้ สาม สอง หนึ่ง... เธอค่อยๆ เคาะไปตามจังหวะที่นับอยู่ในใจ อาจจะเร็วไป หรือช้าไปบ้าง แต่เพื่อนๆ ก็ตั้งใจเขย่าอังกะลุงที่จับแน่นอยู่ทั้งสองมือตามเธอไป ไม่นานนักก็มาถึงท่อนสุดท้ายที่จังหวะต้องเร่งขึ้น  เร มี ซอล... มี ซอล ลา... ซอล ลา โด... ลา โด เรโน้ตตัวสุดท้ายจบลงอย่างเฉียดฉิว นักเรียนคนหนึ่งลุกขึ้นมาดีใจอย่างแรงที่ตัวเองเล่นตามจังหวะได้สำเร็จ ลองสังเกตดูดีๆ หูของเขามีเครื่องช่วยฟังอยู่ เพื่อนๆ บางคนถึงกับถอนหายใจด้วยความโล่งอก บ้างก็หันไปหัวเราะและชี้เพื่อนที่ทำให้ตัวเองหลงจังหวะ สุดท้ายแล้วทุกคนก็หันไปยิ้มให้กัน และเริ่มสนทนาอย่างออกรสชาติด้วยภาษามือ  
เมื่อวันที่ 14 – 15 ก.ย.ที่ผ่านมา ภายในงาน “Good Society Expo 2018 : ทำดีหวังผลเริ่มต้นที่เรา ”มีการจัดเสวนาเรื่อง “Inclusion As A Human Rightการเรียนร่วม สิทธิขั้นพื้นฐานของเด็กทุกคน” และ “พ่อแม่สำคัญ..สอนลูกไม่ให้รังแกผู้อื่น ” นำโดยโรสซาลีนา อเล็กซานเดอร์ ประธานกรรมการมูลนิธิ เดอะเรนโบว์รูม,ขว
ทีแรกเราอยากจะเล่าแค่โรงเรียนสอนคนตาบอดแม่สอด สถานที่ซึ่งพาเด็กๆ ที่มองไม่เห็นมาเรียนรู้ อบรมการใช้ชีวิต โรงเรียนซึ่งมีความคาดหวังจะส่งต่อโอกาสให้ไปถึงมือเด็กตาบอดที่อยู่ชายแดน เราอยากพาคุณไปดูวิถีชีวิต การเรียนรู้ในแบบของที่นั่นพวกเขาต้องเรียนเรื่องอักษรเบรลล์ การใช้ไม้เท้า การใช้ชีวิต ก่อนพวกเขาจะเข้าสู่สังคมของการใช้ชีวิตร่วมกับคนไม่พิการในโรงเรียนหรือว่าการ ‘การเรียนร่วม’ ถือเป็นหมุดหมายถัดไป  
เมื่อวันที่ 28 ส.ค.ที่ผ่านมา มูลนิธิเพื่อคนไทยแถลงข่าวเปิดงาน “Good Society Expo 2018 ทำดีหวังผล เริ่มต้นที่เรา” ที่ชวนให้คนกลายเป็นพลเมืองที่มีส่วนร่วม โดยจะจัดขึ้นในวันที่ 13 -16 ก.ย.61 ณ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์
เชื่อว่าใครหลายคน หลังจากจบชั้นมัธยมฯ ปลายก็มักมองหาที่เรียนต่อ เช่นเดียวกับนักเรียนพิการที่พวกเขาเองก็มักวางแผนและหาที่เรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย ในช่วงเวลานั้นแทบทุกคนเผชิญความเครียดจากการอ่านหนังสือสอบ เพื่อเลือกคณะที่ตัวเองอยากเรียน แต่สำหรับนักเรียนพิการ อีกหนึ่งคว
         เวลาเปลี่ยนไป อะไรหลายอย่างก็เปลี่ยนไปตาม รวมถึงวิธีการคัดเลือกนักศึกษาเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยตั้งแต่ระบบเอ็นทรานซ์, แอดมิชชั่น, สอบตรง, GAT-PAT หรือล่าสุดระบบ “TCAS” ซึ่งเพิ่งเริ่มใช้ในปี 61 เป็นปีแรก จึงทำให้หลายคนยังสงสัยว่า ระบบที่ว่านี้คืออะไร ต่างกับระบบเดิมอย่างไร สอบเหมือนเดิมห
ตอนที่รู้ว่าน้องชายเป็นเด็กพิเศษคือช่วงที่เรียนชั้นป.2 ตอนนั้นไม่ค่อยเข้าใจอะไรมากหรอก รู้แค่ว่าน้องชายไม่สบายต้องไปหาหมอและไปเรียนก่อน 3 ขวบ มีช่วงหนึ่งที่เราได้ตามน้องไปไหนมาไหนก็ได้เห็นและเข้าใจอะไรมากขึ้นว่า น้องไม่เหมือนคนอื่น ขณะเดียวกันเรายิ่งโดนพ่อแม่คาดหวังแทนน้องชายว่า ต้องมีอนาคตที่ดี เลี้ยงน้องได้เพราะภาวะออทิสติกที่น้องเป็น แต่เรื่องก็เปลี่ยนไปเมื่อพ่อแม่เลิกกัน จนที่บ้านมีปัญหาด้านการเงินและเรากับน้องชายต้องย้ายมาอยู่กับครอบครัวป้าจากเด็กที่ไม่เคยทำงานบ้านก็ต้องทำ ต้องเลี้ยงน้อง แต่เรื่องที่ดีอย่างหนึ่ง คือน้องชายได้กลับไปหาหมออีกครั้ง และเหมือนเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้เข้าใจว่า ภาวะนี้เหมือนเป็นอุปสรรค เป็นเงื่อนไขและข้อกำจัด แต่ถ้าเราทำลายสิ่งเหล่านี้ไปได้ เราก็ผ่านมันไปได้เช่นกันในส่วนแรกที่จะพูดถึงคือ เรื่องการเรียน โดยแบ่งเป็นการเรียนสมัยเด็ก ๆ ตอนเรียนสมัยมัธยมศึกษา การเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย และการเรียนในระดับมหาวิทยาลัย
อาจารย์เทคโนโลยีราชมงคลพระนครออกแบบโต๊ะสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย ไม่ว่าจะใช้มือ เท้าหรือปากในการเขียนก็สามารถทำได้อย่างสะดวก เชื่ออุปกรณ์ที่เหมาะสมจะช่วยให้การสอนมีประสิทธิภาพ