Skip to main content
เมื่อวันที่ 22 ก.พ.61 มิวเซียมสยาม จัดงานเสวนา "Museum Infocus 2018" ในหัวข้อ “งานการศึกษาในพิพิธภัณฑ์เพื่อผู้พิการ” โดยมี เบญจวรรณ พลประเสริฐ ภัณฑารักษ์พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย, บุรินทร์ สิงห์โตอาจ นักการศึกษาอิสระ และยุภาพร ธัญวิวัฒน์กุล นักการศึกษามิวเซียมสยาม ร่วมเล่าประสบการณ์การจัดงาน
เว็บไซต์บีบีซีนำเสนอเรื่องราวของสเตฟ ซานจาติ ยูทูปเบอร์สาวข้ามเพศ ที่สร้างแรงบันดาลใจจากการก้าวข้ามความพิการและอคติเรื่องเพศ แม้จะเคยถูกเรียกว่า คนหน้าปลา หรือกีดกันจากกลุ่มเด็กผู้ชายเมื่อเธอเปิดตัวว่าเป็นเกย์ แต่สเตฟในวันนี้กลับเป็นแรงบันดาลใจและมีความสุขกับความแตกต่างของตัวเอง
หลายคนมักเข้าใจว่า สิ่งอำนวยความสะดวก (Accessibility) และการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) เป็นเรื่องที่ทำขึ้นเพื่อคนพิการ แต่จริงๆ แล้วทั้งสองอย่างนี้ไม่ได้มีประโยชน์เฉพาะแค่กับคนพิการ เพราะสิ่งอำนวยความสะดวกและพื้นที่ที่เหมาะสม ช่วยให้คนทุกคนใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ถ้าห้องน้
อาจารย์เทคโนโลยีราชมงคลพระนครออกแบบโต๊ะสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย ไม่ว่าจะใช้มือ เท้าหรือปากในการเขียนก็สามารถทำได้อย่างสะดวก เชื่ออุปกรณ์ที่เหมาะสมจะช่วยให้การสอนมีประสิทธิภาพ
ถ้านิยามความรักว่าต้องเป็นเรื่องของคนสองคนที่มีอะไรคล้ายกัน ก็แสดงว่าคนพิการต้องคู่กับคนพิการ อย่างงั้นเหรอ ?
เมื่อ 8 ปีก่อน อีวาน โอเวนซิ่งนักออกแบบหุ่นยนต์และกลไกในภาพยนตร์ “ทรานฟอร์เมอร์” ได้ออกแบบนิ้วเทียมและพิมพ์ด้วยเครื่องมือสามมิติเพื่อให้ช่างไม้ชาวแอฟริก้าใต้ที่ถูกเครื่องจักรตัดนิ้วมือทดลองใช้ และปรากฎว่าสามารถใช้งานได้อย่างดี จนนำไปใช้กับกลุ่คนที่ประสบอุบัติเหตุจนพิการ และขยายไปทดลองใช้กับกลุ่มเด็กที่ถูกถุงน้ำคร่ำรัดมือจนไม่ไม่นิ้วขณะอยู่ในครรภ์อีกด้วย
เราเริ่มต้นด้วยการถามว่า คำถามไหนที่เจอบ่อยและขี้เกียจตอบแล้ว เพราะที่ผ่านมา จิระ ชนะบริบูรณ์ชัย เจ้าของแบรนด์ ONCE แบรนด์เสื้อที่มีจุดเด่นตรงที่คนตาบอดสามารถอ่านสีและไซส์ของเสื้อได้จากอักษรเบรลล์ที่อยู่ด้านหลังนั้นต้องตอบคำถามเหล่านี้มากกว่า
เมื่อวันที่ 25 ม.ค.2561 สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ และกระทรวงสาธารณะสุข ได้จัดการประชุมเชิงวิชาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน (CBR Forum 2018) โดยมีเวที “เพราะเด็กก็คือเด็ก ” (Because a child is a child)  ซึ่งได้รับความสนใจและมีผู้ร่วมเสวนาหลายคน ได้แก่ ปิยะนุช ชัชวรัตน์ ประธานศูนย์บ้านทอฝัน สมาคมสมาคมพัฒนาศักยภาพบุคคลออทิสติก จ.เชียงราย, ดร.สุจินต์ สว่างศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนลพบุรีปัญญานุกุล จ.ลพบุรี, ประสานทอง จันทมณี ผู้อำนวยการโรงเรียนเขากลอย จ.สงขลาและจันทนา เจริญวิริยะภาพ ประธานชมรมผู้บกพร่องทางการเรียนรู้ จ.สงขลา
เราเคยเห็นคนพิการถูกนำแสนอในสื่อแบบไหนบ้าง? คงปฏิเสธไม่ได้ว่า ภาพน่าสงสารมักมาพร้อมกับคนพิการในสื่ออย่างอัตโนมัติ เพราะอะไรคนพิการในสื่อจึงต้องน่าสงสาร นอกจากเรื่องความน่าสงสารและประเด็นดราม่าแล้ว ชีวิตคนพิการมีมิติไหนให้นำเสนออีกบ้างหรือเปล่า 
"เด็กแต่ละคนมีความสามารถและข้อจำกัดทางการเรียนรู้ต่างกันออกไป ความรู้ทางด้านวิชาการบางประเภทอาจไม่ตอบสนองต่อความสามารถในการเรียนรู้ของเด็กบางคน ทำให้เด็กไม่สามารถพัฒนาศักยภาพของตนได้อย่างเต็มที่" ลัดดาวัลย์ ศานตินิรันดร ผู้อำนวยการโรงเรียนภัทรญาณวิทยา จ.นครปฐมกล่าวบนเวทีเสวนาเรื่อง “ทิศทางการเรียนรวมในประเทศไทย”