Skip to main content
ในทุกปี การประกวดนางงามหูหนวกถูกจัดขึ้นคู่ขนานกับการประกวดนางงามกระแสหลัก เป็นการประกวดที่ทำให้ชุมชนคนหูหนวกภาคภูมิใจและมองว่าจะช่วยทำให้พวกเขาได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม แต่น้อยครั้งนักที่ความภาคภูมิใจเหล่านี้จะถูกนำเสนอและได้รับกระแสความสนใจจากสื่อ รวมถึงมีน้อยคนที่จะรู้จักว่า ชุมชนคนหูหนวกก
เราคงคุ้นเคยกับเสื้อคอกระเช้ากันดีจากการเห็นแม่ ป้า ย่า ยายใส่ที่บ้าน แต่ใครจะรู้บ้างว่า เสื้อคอกระเช้าที่ไม่มีอะไรซับซ้อน จะกลายเป็นส่วนหนึ่งของความภาคภูมิใจที่เบส- พีรัช พนาโยธากุล มีตลอดหลายปีที่ผ่านมา
จากกระแส ส.ส.พรรคอนาคตใหม่ใส่กางเกงขาสั้นเข้าสภาฯ ก่อให้เกิดคำถามและกระแสสนใจจากสังคมอย่างกว้างขวาง ประเด็นการแต่งกายและความพิการถูกหยิบยกขึ้นมาแลกเปลี่ยน พูดคุย หรือไปถึงการถกเถียง แต่สำหรับจุลพันธ์ โนนศรีชัย ส.ส.บัญชีรายชื่อลำดับที่ 50 ของพรรคอนาคตใหม่แล้ว ประเด็นเหล่านี้เป็นเรื่องที่เขาคุ้นชิน
จะมีคนพิการรุนแรงสักกี่คนที่ได้ออกมาใช้ชีวิตแบบที่ตัวเองต้องการ?
กิจกรรมคนพิการ คือเรื่องของคนพิการเท่านั้น กีฬาคนพิการก็เช่นกัน แต่คำถามคือเราจะเชื่อมโยงเข้าหากันได้อย่างไร ระหว่างคนพิการและไม่พิการ เวลาบางคนดูพาราลิมปิกด้วยความรู้สึกสงสาร เอาใจช่วย ซึ่งต่างจากเวลาที่เชียร์กีฬาโอลิมปิกหรือการแข่งขันทั่วๆ ไป เราสงสัยว่าทำไมถึงเป็นแบบนั้น ทำไมคนไม่พิก
ภาพลักษณ์ของวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล คือวิทยาลัยของคนพิการ เพราะอะไรน่ะหรือ?เพราะราชสุดามีนักศึกพิการเรียนอยู่เป็นจำนวนมาก ดังที่เราจะเห็นพวกเขาเดินไปพร้อมไม้เท้าขาว วีลแชร์ หรือพูดคุยกันผ่านภาษามือ ชวนคุยกับแพทย์หญิงวัชรา ริ้วไพบูลย์ คณบดีวิทยาลัยราชสุดา ถึงการศึกษาในเรื่องความพิการ และความเป็นไปได้ของการทำงานในเรื่องนโยบายคนพิการที่วิทยาลัยพยายามผลักดัน
“อยากไปที่ ….. ต้องนั่งรถเมล์สายอะไร”คำถามที่มักไร้คำตอบ เมื่อการจดจำและทำความเข้าใจสายรถเมล์ต่างๆ เป็นเรื่องยาก แถมยังไม่สามารถอ่านได้อย่างเข้าใจเมื่ออยู่ที่ป้ายรถเมล์  นั่นจึงเป็นสาเหตุที่ทำให้ Mayday (เมล์เดย์) กลุ่มคนที่สนใจเรื่องการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ ลุกขึ้นมาทำบางอย่าง เพื่อให้การเดินทางในบ้านเราสะดวก ประหยัดและรวดเร็วชวน กรวิชญ์ ขวัญอารีย์ กราฟิคดีไซน์ประจำ Mayday เล่าประสบการณ์การออกแบบการขึ้นรถเมล์แบบใหม่ ที่ท้าทายความสามารถ และเปลี่ยนแปลงความไม่ชัดเจนเดิมเพื่อให้คนทุกคนสามารถใช้งานบริการรถสาธารณะ ได้ตามหลัก Inclusive Design
เราพบกับเพลง- อธิษฐาน สืบกระพันธ์ ในงานเสวนาเรื่องเพศอีเวนท์หนึ่ง สาววัย 18 ปีคนนี้ นั่งวีลแชร์ไฟฟ้าขึ้นไปพูดเรื่องเพศแบบแซ๋บๆ บนเวที วันนั้นเธอเล่าว่า เธอเป็นคนที่เพื่อนเลือกที่จะปรึกษาเรื่องเพศ เช่น มีอะไรกันแล้วจะท้องไหม ป้
ฐิติพร พริ้งเพริ้ด ถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าตั้งแต่ปี 44 ในตอนที่คนยังไม่รู้จักคำว่า “โรคซึมเศร้า” กันดีนัก ช่วงเวลาสุดท้ายก่อนที่เธอจะป่วย เธอใช้ชีวิตแบบ “ทำร้ายร่างกายอย่างหนักหน่วง” กินหนัก นอนดึกถึงขั้นไม่นอน จนเมื่ออาการโรคซึมเศร้านั้นชัดเจน เธอก็ไม่ยอมไปหาหมอ และจมอยู่
“เท่าที่จำความได้ เราไม่เคยคิดว่าตัวเองเป็นชายหรือหญิง”พ่ออยากได้ลูกชายเป็นลูกคนแรกเพื่อแบ่งเบาภาระครอบครัวและทำงาน แต่เราเกิดมาเป็นผู้หญิง ในตอนนั้นจึงต้องรับจ้าง ทำนา ทำทุกอย่างด้วยตัวเองจนแกร่งตั้งแต่เด็ก หลังจบป.6 ไม่มีโอกาสได้เรียนหนังสือเพราะพ่อแม่ไม่มีเงิน เราก็ผลักตัวเองทำงานตั้งแต่ตอนนั้น ไม่สนหรอกว่าเป็นผู้หญิงหรือผู้ชาย รู้จักแค่ต้องดิ้นรนตอนเราพ้นขีดจำกัดความยากจน ก็มาเรียน กศน.จนจบม.3 อายุ 15 ปี เริ่มทำงานในนิคมอุตสาหกรรม แต่ทำงานแค่ปีเดียวก็เกิดอุบัติเหตุขึ้นอ่านชีวิตของสายสุนีย์ จ๊ะนะ นักกีฬาฟันดาบคนพิการหญิง เจ้าของเหรียญทองหลายสมัยนานกว่า 20 ปี อะไรคือความท้าทายของการขึ้นมาอยู่ในสปอทไลท์หนึ่งในนักกีฬาฟันดาบพิการหญิงที่มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก และความสุขของบทบาทแม่สำหรับลูกสาววัยน่ารัก