Skip to main content
การเดินทางในกรุงเทพฯ มีอยู่หลากหลายแบบทั้งรถเมล์ รถไฟฟ้า มอเตอร์ไซค์ เรือ ฯลฯ แต่จะมีสักกี่ประเภทกันที่คนพิการสามารถใช้บริการได้โดยไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่นและไม่ทำให้คนยิ่งมองว่าคนพิการไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
มีแฟนเพจท่านหนึ่งถามเราเข้ามาว่า ห้องน้ำคนพิการ จริงๆ แล้วคนทั่วไปที่ไม่ได้มีความพิการอะไร สามารถใช้ได้ไหม แล้วถ้าใช้ได้ควรปฏิบัติตัวอย่างไร ตลอดจนการถกเถียงเรื่อง PRIORITYหรือลำดับความสำคัญของคนพิการ 
เวลาที่คุณนึกถึงทางเท้าไทยแลนด์ ภาพแรกที่คุณเห็นคือภาพแบบไหน เป็นทางเดินที่สะอาด ใครๆ ก็ใช้ได้  หรือทางเท้าที่ขรุขระ บิดเบี้ยว มีแต่รอยแหว่ง รอยแตกเต็มไปหมด หากเห็นภาพแบบแรกเราก็ขอเดาว่า คุณอาจจะไม่ใช่คนแถวนี้
เวลาเดินบนทางเท้า หลายคนคงเคยสังเกตเห็นแผ่นกระเบื้องสีเหลือง (หรือบางแห่งเป็นแผ่นโลหะ) ที่มีรูปร่างเป็นแถบนูนเส้นตรงและยังมีแบบจุดนูนกลมตะปุ่มตะปั่มเต็มไปหมดโดยไม่รู้ว่ากระเบื้องพวกนี้มีไว้ทำอะไร มีการใช้งานอย่างไร หรือเอามาเรียงต่อกันเพื่อความสวยงามเท่านั้น?
ทำยังไง? เมื่อมีเพื่อนร่วมงานเป็นคนพิการ ไกด์ไลน์ว่าด้วยการปฏิบัติตัวต่อเพื่อนร่วมงานที่เป็นคนพิการ 
         ผมค่อยๆ เขยกเท้าขึ้นสะพานลอยแบบทุลักทุเล มันทั้งเจ็บและทรมาน แผลจากการเหยียบหินตอนไปทะเลมีครบทั้งสองข้าง เท้าแทบลงน้ำหนักเวลาเดินไม่ได้ ทั้งที่ไม่ได้มีใครเดินตามมา เรากลับกังวลว่า คนที่จะเดินตามมาเขาจะหาว่าเราเดินช้า ทั้งหมดเป็นความกังวลของตัวเองล้วนๆ ผมอยู่บนสะพานลอยเดิมที่รอบนี้ใช้เวลา
เช้าวันหนึ่งในฤดูร้อน ที่สถานตากอากาศชายทะเลในเมืองโฟเซน ทางตะวันตกของกรุงโรม เมืองหลวงของประเทศอิตาลี มีชายหาดที่กำลังเป็นที่นิยมจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวอิตาเลียนเด็กและผู้ใหญ่ ส่งเสียงสนุกสนานเจี้ยวจ้าว บ้างก็นั่งอยู่บนเก้าอี้อาบแดดที่ถูกจัดวางไว้  เด็กๆ พากันวิ่งเล่นสนุกสนานท่ามกลางเกลียวคลื่น
แต่ก่อนผมเข้าใจว่าตัวเองรู้จัก ‘คนพิการ’ พอสมควร แม้ไม่ได้รู้ลึกในแง่ประเภทและลักษณะเฉพาะของความพิการ แต่ด้วยนิสัยเป็นคนคิดเยอะ ขี้สงสัย และชอบถาม เลยคิดว่าคำตอบที่ได้รับมาตลอดหลายปี คงเป็นต้นทุนให้ผมปฏิบัติต่อคนพิการได้ดีพอสมควร
ช่วงอาทิตย์ที่ผ่านมากระแสรถเมล์เปลี่ยนสีกำลังเป็นที่ฮือฮา ในฐานะคนนั่งวีลแชร์อย่างเรา ยอมรับตามตรงว่าไม่ได้ตื่นเต้นอะไรนักหรอก -เพราะรู้ว่ายังไงก็ขึ้นไม่ได้อยู่ดี
เมกะเทรนด์ หรือเทรนด์ใหญ่ที่สุดอย่างหนึ่งของโลก ก็คือการที่ผู้คนจะอพยพเข้ามาเป็น ‘คนเมือง’ มากถึงราว 75% ภายในปี 2050