Skip to main content
ผ่าแยกกับชัชชาติ สำรวจอนุสาวรีย์ชัยฯ ถึงกรมคนพิการ 
เมื่อวันที่ 25 มีนาคมที่ผ่านมา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดเสวนาออนไลน์หัวข้อ “บ้าแล้วไง?: กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการผู้กระทำความผิดที่เป็นผู้ป่วยจิตเวช” โดยมี ดร.ญาดา เดชชัย เธียรประสิทธิ์ อาจารย์ประจำศูนย์กฎหมายอาญาและอาชญาวิทยา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, พญ.ดวงตา
หลายครั้งเมื่อนึกถึงคนหูหนวก เราอาจนึกถึงการสื่อสารระหว่างคนหูหนวก - หูดีที่ยากลำบาก เนื่องจากคนหูหนวกหลายคนใช้ภาษามือในการสื่อสาร บางคนอาจใช้การอ่านปากหรือบางคนก็อาจมีภาษามือที่ใช้กันเองเฉพาะกลุ่ม จนทำให้เห็นเสมือนว่า ภาษาที่
“เด็กที่เป็นโรคปากแหว่งเพดานโหว่มีโอกาสรักษาหายขาด 99.99 เปอร์เซ็นต์ หากได้รับการรักษาที่ถูกวิธีและได้รับการผ่าตัดจากหมอที่มีฝีมือ”
‘ความแตกต่าง’  ไม่ว่าจะเป็นอวัยวะหรือสมรรถภาพทางร่างกาย กลายเป็นเส้นขีดแยกคนพิการออกจากความเป็นคนที่มีความสามารถทัดเทียมกับคนอื่น แล้วความพิการทำให้คนด้อยกว่าจริงหรือ เส้นแบ่งของความพิการและไม่พิการคืออะไรหากความเจ็บป่วยหลายอย่างสามารถทำให้ร่างกายทำงานไม่ปกติได้เช่นกัน 
รอบอนุสาวรีย์แห่งนี้ วีลแชร์ไปได้กี่เกาะ
หลายคนมีความฝันที่อยากจะเป็นสิ่งนั้น อยากทำสิ่งนี้ ไม่ว่าจะฝันเล็ก ฝันใหญ่และแทบทุกคนอยากทำให้ฝันเป็นจริง เช่นเดียวกับคนพิการที่พวกเขาก็มีความฝันไม่ต่างกัน หากแต่ข้อจำกัดบางอย่างและอุปสรรคที่ต้องเจออาจทำให้ไม่สามารถก้าวไปถึงความฝันได้ 
เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2564 ที่ผ่านมา กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการโดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ร่วมแถลงข่าวเพื่อมอบของขวัญปีใหม่ 2565 ให้กับคนพิการวัยแรงงาน ระบุว่า กระทรวงนั้นตระหนักดีว่าคนพิการวัยแรงงานเป็นกำลังการผลิตส่วนหนึ่งที่ร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจของป
ชม “สวนสาธารณะคลองช่องนนทรี” ด้วยวีลแชร์ไฟฟ้า
ในช่วงปีที่ผ่านมา การชุมนุมทางการเมืองของคนรุ่นใหม่เป็นเปรียบเสมือนหมุดหมายหนึ่งที่ขยับเพดานผ่านข้อเรียกร้องในการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ 10 ข้อ และหนึ่งในการชุมนุมที่ได้รับการพูดถึงมากที่สุด คือการชุมนุมของกลุ่มธรรมศาสตร์เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2564 ภายในพื้นที่มหาวิทยาลัย การชุมนุมนี