Skip to main content
...การไปโรงเรียนของเด็กชายวัย 10 ขวบคนนี้มีอะไรมากกว่าแค่ใส่รองเท้าผ้าใบรุ่นล่าสุดหรือใส่เสื้อผ้าแฟชั่นทันกระแส แต่คือการสร้างความมั่นใจว่า วีลแชร์ของเขามีขนาดที่ถูกต้อง พอดีกับกระดูกและกล้ามเนื้อของเขาด้วย... 
สมาคมผู้บกพร่องทางจิตแห่งประเทศไทย จัดวงเสวนา “ทำไมต้องให้ที่ยืนกับคนป่วยใจ” ร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ผ่านสื่อ เพื่อเป็นกระบอกเสียงให้ผู้ป่วยทางจิตมีที่ยืนในสังคม สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโรคจิตเวช ชี้แจงข้อมูลข่าวสาร อยากให้ทุกฝ่ายเปิดใจเรียนรู้ แนะนำช่องทางให้ความช่วยเหลือพร้อมนำเสนอกิจกรรมวิ่ง ก้าวแรก บัดดี้รัน ( Buddy Run ) จับมือองค์กรระหว่างประเทศขยายเครือข่ายการทำงานทั่วอาเซียน
เว็บไซต์กรุงเทพธุรกิจรายงานว่า นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ชั้น ป.5 ได้แก่ ด.ช.
แม้ว่าภาพที่เราชินตา เมื่อพูดถึงความเป็นอยู่ของคนพิการส่วนใหญ่ คือภาพของครอบครัวที่ล้อมหน้าล้อมหลัง ปรนนิบัติดูแล แต่แน่นอนว่า ไม่ใช่คนพิการทุกคนที่มีครอบครัวที่พร้อมจะดูแล และไม่ใช่ทุกคนที่ต้องการให้คนที่ทำหน้าที่ช่วยเหลือ เป็นคนในครอบครัว
แต่ก่อนผมเข้าใจว่าตัวเองรู้จัก ‘คนพิการ’ พอสมควร แม้ไม่ได้รู้ลึกในแง่ประเภทและลักษณะเฉพาะของความพิการ แต่ด้วยนิสัยเป็นคนคิดเยอะ ขี้สงสัย และชอบถาม เลยคิดว่าคำตอบที่ได้รับมาตลอดหลายปี คงเป็นต้นทุนให้ผมปฏิบัติต่อคนพิการได้ดีพอสมควร
ตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา รัฐบาลไทยมีนโยบายให้เงินกู้แก่คนพิการที่มีความสามารถในการประกอบอาชีพ (หรือให้สิทธิผู้ดูแลคนพิการ) ที่ขาดแคลนเงินหรือเงินทุนไม่เพียงพอ เพื่อเป็นการส่งเสริมอาชีพแก่คนพิการให้สามารถเลี้ยงตัวเอง ลดภาระบุคคลอื่น และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุขอย่างคนทั่วไป
ไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมานี้ เราได้มีโอกาสเข้าไปที่คลินิกที่แอบซ่อนอยู่ในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ อย่างศูนย์สิรินธร จังหวัดนนทบุรี ท่ามกลางความวุ่นวายของคนที่มาต่อคิวพบหมอ ข้างๆ ลานกว้างที่ทำไว้ให้ผู้ป่วยที่นั่งวีลแชร์ได้จอดรถของพวกเขารอหมออย่างสบายๆ มีคลินิกลึกลับแห่งหนึ่ง อยู่หลังประตูสีขาวบานนั
“หนูทำเอง พ่อไม่ต้องมาช่วย”“พ่ออย่าบอกสิ หนูขอคิดเอง”“หนูไม่ชอบอันที่พ่อเลือกให้ หนูขอเลือกเองได้ไหม”