Skip to main content
ในไทยอาชีพผู้ช่วยคนพิการอาจยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก บางคนก็เข้าใจว่าผู้ช่วยคือพี่เลี้ยง ญาติ เพื่อน ฯลฯ แต่แท้จริงแล้วอาชีพนี้มีชื่อเรียกและเป็นอาชีพที่ต้องอาศัยทักษะ ความเข้าใจ และต้องเคร่งครัดไม่ต่างจากอาชีพอื่น
ปัญหาติดหน้าจอเป็นปัญหาใหญ่ของครอบครัวที่มีลูกหูหนวก เพราะเมื่อพ่อแม่ใช้ภาษามือไม่เป็น ลูกก็ไม่สามารถสื่อสารกันได้อย่างเข้าใจเด็กๆ จึงง่วนอยู่กับน่าจอที่มีภาพแสดงท่าทางต่างๆ  นี่ไม่ใช่เรื่องแปลกที่เกิดขึ้น หากแต่เป็นเรื่องปกติที่ครอบครัวหูหนวกต้องเจอ เมื่อการสื่อสารภาษามือยังเป็นเรื่องที่เ
เมื่อวันเสาร์ที่ 15 กรกฏาคมที่ผ่านมา Thisable.me ร่วมกับศูนย์การดำรงชีวิตอิสระคนพิการพุทธมณทล จัดงานเสวนา “เสรีภาพหรือเสรีพร่อง 2.0” ในประเด็น คนพิการ สินค้าบุญกุศล มีผู้ร่วมเสวนา 3 คน ได้แก่ บุญรอด อารีวงษ์ คอนเทนต์ครีเอเตอร์
เขียนโดย จินต์จุฑา พันธุ์ทองคำและ พลอยวรินทร์ ชิวารักษ์งานชิ้นนี้เป็นผลงานจากรายวิชา สิทธิมนุษยชนและวารสารศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาหากกล่าวถึงชื่ออินฟลูฯท่านหนึ่งอย่าง หนูรัตน์หรือเฮเลน - สุภัคชญา ชาวคูเวียง ก็คงไม่มีใครไม่รู้จักเธอ เพราะนอกจากความน่ารัก สดใสแล้ว การพูดไม่ชัดและความเป็นคนซื่อยังเป็นเอกลักษณ์ที่ทำให้ใครหลายคนรู้สึกเอ็น
“ถ้าแขกไม่ให้สีไม้ 36 สีกับมือเด็ก สีเหล่านั้นไม่มีทางมาถึงมือเด็กพิการในสถานสงเคราะห์แน่นอน เพราะไปอยู่กับลูกผู้ดูแลหมด บางทีแมจะให้กับมือเด็กโดยตรงแต่พอไปถึงตึกนอน เจ้าหน้าที่ก็เอาอย่างอื่นมาขอแลก หรือมากดดันว่าจะต้องเอาของอันนั้นให้เขา”
การนอนให้ครบ 7-8 ชั่วโมงตามคำแนะนำจากวารสารเรื่อง Prevalence of Healthy Sleep Duration among Adults — United States, 2014 รายสัปดาห์ของศูนย์ควบคุมโรคติดต่อสหรัฐอเมริกา (Centers for Disease Control and Prevention : CDC) อา
23 มี.ค.ที่ผ่านมา เครือข่ายคนพิการและภาคีร่วมภาคประชาชน ร่วมกับวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม คณะเศรษฐศาสตร์และสถาบันปฎิรูปประเทศไทย มหาวิทยาลัยรังสิต จัดเสวนาในหัวข้อเรื่อง “เวทีประชาชน คนพิการอยู่ไหนในการเมืองไทย” โดยเชิญตัวแทนพรรคการเมืองต่างๆ เข้าเสนอนโยบายพรรคการเมืองในด้านคนพิการ ณ ห้องออด