Skip to main content
สรุปไลฟ์เฟซบุ๊ก "สิทธิคนพิการเป็นอย่างไรในอังกฤษ" ที่ชวนคุยกับ เพียงฝัน แกรนต์ แพทย์ที่มีภาวะออทิสติก ซึ่งขณะนี้ทำงานในบทบาทหน้าที่ของ Marie Curie Early Career Researcher สาขาแพทยศาสตร์  Queen’s University Belfast ไอร์แลนด์เหนือ (Northern Ireland) ประเทศสหราชอาณาจักร
“เรื่องหนึ่งที่คนหูหนวกไม่ค่อยรู้ ก็คือเรื่องกฎหมายและสิทธิ จึงมักถูกห้ามและกดขี่ ไม่รู้ว่าบางเรื่องก็ทำได้ เวลาถูกเอาเปรียบก็สู้ไม่ได้ เช่น เมื่อคนหูหนวกท้องก็ไม่รู้ว่าต้องทำยังไง ไม่รู้จะไปปรึกษาใคร ไม่รู้กฎหมาย ไม่รู้สิทธิของตัวเอง”
“เวลาคนไข้อยากฆ่าตัวตาย เขาจะรู้สึกสองจิตสองใจคือ ไม่อยากฆ่าตัวตายหรอกแต่ก็ไม่อยากอยู่ ถ้าเขามีความหวัง เห็นความหมายในชีวิต เขาก็อาจจะไม่อยากตาย”
ในทุกอย่างก้าวที่ออกเดิน เราหลายคนมีรองเท้าช่วยป้องกันเศษแก้ว หนาม ตะปูและสิ่งสกปรก  ขณะที่บางคนใส่เพื่อออกกำลังกาย เตะฟุตบอล วิ่งมาราธอนหรือเตะตระกร้อ  ทำให้รองเท้ากลายเป็นส่วนสำคัญของการเดินอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นับตั้งแต่สมัยจอมพล ป.
หลายคนมักคิดว่าการสร้างสรรค์บทสัมภาษณ์นั้นขึ้นอยู่กับกองบรรณาธิการหรือขั้นตอนการพิสูจน์อักษรเพียงเท่านั้น แต่สำหรับบทสัมภาษณ์ของคนหูหนวกนั้นจะสมบูรณ์ไม่ได้เลย หากไม่มี ‘ล่ามภาษามือ’ ที่ถ่ายทอดท่าทางภาษามือ ก็คงไม่มีใจความให้กองกองบรรณธิการได้ทำงานต่อ และคงไม่มีเสียงของคนหูหนวกออกสู่การร
หลายครั้งที่ผู้ใหญ่จะให้กำลังเรา เรามักได้ยินประโยคอย่าง “ดูสิ ร่างกายเขาไม่ครบ 32 ยังทำได้เลย แล้วเราที่มีอวัยวะครบทำไมถึงจะทำไม่ได้” 
ในชุมชนคนหูหนวก กลุ่มคนข้ามเพศหรือทรานส์เจนเดอร์เป็นประชากรจำนวนไม่น้อย พวกเขามีตัวตนแต่ไม่เป็นที่มองเห็นในสังคมทั่วไป จนทำให้เกิดการเลือกปฏิบัติ ทั้งจากอคติทางเพศและความรู้ที่มีอย่างจำกัด
การนำเสนอภาพจำของคำว่าคนพิการผ่าน  ThisAble.me แค่สื่อเดียวคงไม่สามารถลบภาพลักษณ์คนพิการดูน่าสงสารหรือเป็นภาระของผู้อื่นได้ สื่อกระแสหลัก เช่น โทรทัศน์และหนังสือพิมพ์ยังเป็นส่วนสำคัญในการกำหนดทิศทางและการรับรู้ของสังคมในวงกว้าง หากภาพจำที่น่ารันทดอดสู การมองคนพิการด้วยความสงสารนั้นถูกช่
ท่ามกลางกระแสความยากลำบากของการดำเนินชีวิตของคนพิการ สาเหตุของความพิการกลุ่มหนึ่งที่อาจจะไม่ค่อยเป็นที่รับรู้ของคนในสังคมมากนัก คือกลุ่มผู้ป่วยโรคหายาก อาการดังกล่าวอาจนำไปสู่ความพิการและอาจกลายเป็นคนพิการรุนแรงที่ต้องใช้อุปกร
จุดเริ่มต้นของบทสัมภาษณ์นี้มาจากเรื่องราวของครอบครัวหนึ่งที่คลอดลูกได้เพียงไม่กี่เดือนก็เสียชีวิตทั้ง 2 คน และประวัติการเสียชีวิตของลูกทั้ง 2 คนกลับช่วยชีวิตลูกคนที่ 3 จากโรคปอมเปไว้ได้ (อ้างอิงข้อมูล: https://www.youtube.