Skip to main content
19 พ.ย.2565 Thisable.me, ศูนย์การดำรงชีวิตอิสระของคนพิการ พุทธมณฑล สมาคมนักขับเคลื่อนสังคมเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางสุขภาวะ (นธส.) และประชาไท จัดงานเสวนาภายใต้หัวข้อ ‘เสรีภาพ หรือเสรีพร่อง’ ตอน ‘จะรับได้ไหม ถ้าฉันท้อง’ ชวนพูดคุ
วันนี้ (12 พ.ย.) มูลนิธิหญิงชายก้าวไกลร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดเวทีเสวนา “ตีแผ่ความจริง เมื่อคนพิการถูกล่วงละเมิดทางเพศ” และเปิดตัวหนังสือ “บาดแผลของดอกไม้” โดยอรสม สุทธิสาคร ซึ่งสะท้อนปัญหาของคนพิการที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ โดยมุ่งหวังให้เกิดความสนใจและตระหนักในปั
ในงาน ICPD25 (International Conference on Population and Development) ที่กรุงไนโรบี ประเทศเคนย่าเมื่อวันที่ 12-14 พฤศจิกายนที่ผ่านมา มีเวทีที่ชื่อว่า We decide: Person with disability and the ICPD programme of action ที่นำเสนอความก้าวหน้าด้านงานคนพิการจากหลากหลายประเทศและหลากหลายภูมิภาค เช่น เคนย
เมื่อวันที่ 1 พ.ย.62 โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในประเทศไทย (UNDP) ร่วมกับมูลนิธินวัตกรรมทางสังคม (SIF) และสำนักงานคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต) จัดประชุมว่าด้วยการส่งเสริมการจ้างงานของผู้หญิงพิการ ภายใต้ชื่อ "Able to Create Change: the Business Network Meeting for Employing
“เท่าที่จำความได้ เราไม่เคยคิดว่าตัวเองเป็นชายหรือหญิง”พ่ออยากได้ลูกชายเป็นลูกคนแรกเพื่อแบ่งเบาภาระครอบครัวและทำงาน แต่เราเกิดมาเป็นผู้หญิง ในตอนนั้นจึงต้องรับจ้าง ทำนา ทำทุกอย่างด้วยตัวเองจนแกร่งตั้งแต่เด็ก หลังจบป.6 ไม่มีโอกาสได้เรียนหนังสือเพราะพ่อแม่ไม่มีเงิน เราก็ผลักตัวเองทำงานตั้งแต่ตอนนั้น ไม่สนหรอกว่าเป็นผู้หญิงหรือผู้ชาย รู้จักแค่ต้องดิ้นรนตอนเราพ้นขีดจำกัดความยากจน ก็มาเรียน กศน.จนจบม.3 อายุ 15 ปี เริ่มทำงานในนิคมอุตสาหกรรม แต่ทำงานแค่ปีเดียวก็เกิดอุบัติเหตุขึ้นอ่านชีวิตของสายสุนีย์ จ๊ะนะ นักกีฬาฟันดาบคนพิการหญิง เจ้าของเหรียญทองหลายสมัยนานกว่า 20 ปี อะไรคือความท้าทายของการขึ้นมาอยู่ในสปอทไลท์หนึ่งในนักกีฬาฟันดาบพิการหญิงที่มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก และความสุขของบทบาทแม่สำหรับลูกสาววัยน่ารัก
“เราสังเกตได้ว่า วันไหนที่แต่งหน้าจัด แต่งตัวดี ถือกระเป๋าแบรนด์ คนมองเราน่าสงสารน้อยลง และได้คะแนน “วีรสตรี” เพิ่มขึ้น พ่วงมากับคำพูดว่า “เก่งนะคะ สวยนะคะ หน้าตาดีนะคะ แต่น่าเสียดายเดินไม่ได้”
หลังเรียนจบจากโรงเรียนโสตศึกษานครปฐม เพลง-จุฑาทิพย์ ศรีธำรงวัชร์ก็เข้าเรียนต่อในราชภัฏนครราชสีมาในสาขาวิทยาศาสตร์การกีฬาร่วมกับเพื่อนๆ ที่หูดี และได้รับเสียงเชียร์ให้เข้าร่วมประกวดนางงาม ก่อนที่เธอจะตัดสินใจส่งใบสมัครและได้รับตำแหน่งในที่สุดเพลงเล่าว่า การใช้ชีวิตร่วมกับคนหูดีเป็นอุปสรรคอยู่บ้าง ทั้งเรื่องการสื่อสารและวัฒนธรรมที่ต่างกัน และนี่เองเป็นจุดประสงค์ของการมาประกวดนางงามของเธอในครั้งนี้ ที่ต้องการให้สังคมตระหนักถึงความเท่าเทียม และเปิดรับคนที่มีความแตกต่างกันมากขึ้น
ปัจจุบันประชากรโลกให้ความสำคัญกับเสรีภาพ สิทธิมนุษยชน และความเท่าเทียมมากขึ้น โดยเฉพาะความเท่าเทียมทางเพศระหว่างชาย-หญิง ที่กลายเป็นหัวข้อสำคัญในการขับเคลื่อนความเท่าเทียมในสังคมของโลกยุกโลกาภิวัตน์ แต่กระนั้นเองก็ยังมีความไม่เท่าเทียมที่ถูกกดทับยิ่งกว่าคือความเป็นหญิงและความพิการ
เว็บไซต์บีบีซีไทยนำเสนอเรื่องมิตรา ฟาราซานเดห์ หญิงพิการวัย 41 ปี ในหมู่บ้านเล็กๆ ตอนเหนือของอิหร่าน ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของสังคมอนุรักษ์นิยมที่ห้ามยุ่งเกี่ยวกับเรื่องเพศ และความต้องการทางเพศ โดยเฉพาะเมื่อเธอมีความ
เนื่องในวันผู้หญิงนักปกป้องสิทธิสากล โพรเทกชัน อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกับสถานทูตแคนาดาประจำประเทศไทย จัดงานเปิดตัวไดอารี่บันทึกความหวังและความฝันของหญิงนักปกป้องสิทธิ พร้อมอ่านแถลงการณ์เรียกร้องให้รัฐมีมาตรการที่ชัดเจนในการคุ้มครอง ปกป้อง ดูแลผู้หญิงนักปกป้องสิทธิ