Skip to main content
19 พ.ย.2565 Thisable.me, ศูนย์การดำรงชีวิตอิสระของคนพิการ พุทธมณฑล สมาคมนักขับเคลื่อนสังคมเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางสุขภาวะ (นธส.) และประชาไท จัดงานเสวนาภายใต้หัวข้อ ‘เสรีภาพ หรือเสรีพร่อง’ ตอน ‘จะรับได้ไหม ถ้าฉันท้อง’ ชวนพูดคุ
“หากคุณอยู่ในร้านอาหาร คุณเห็นพื้นที่สำหรับ “ทุกคน” แล้วหรือยัง? และคุณคิดว่าพื้นที่สำหรับผู้พิการควรถูกทำให้เห็นได้อย่าง “ชัดเจน” ในทุกร้านอาหารและทุกหนแห่งหรือไม่”
นิยามคนพิการเป็นหนึ่งสิ่งที่สำคัญต่อบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกายเพราะสะท้อนให้เห็นว่าประเทศเหล่านั้นมีทัศนคติต่อคนพิการอย่างไร และให้ความสำคัญแก่คนพิการมากน้อยแค่ไหน ถึงแม้จะเป็นนิยามสั้นๆแต่สามารถบอกแนวคิดที่แต่ละประเทศใช้ในการทำงานเกี่ยวกับประเด็นคนพิการได้
การเดินทางโดยรถเมล์เป็นทางเลือกหนึ่งที่คนส่วนใหญ่เลือกใช้บริการเมื่อต้องเดินทางไปสถานที่ต่างๆ ปัจจุบันนี้รถเมล์มีหลายสาย ป้ายรถเมล์เองก็เริ่มทั่วถึงมากขึ้น อีกทั้งค่าโดยสารก็ย่อมเยากว่าการเดินทางด้วยรถสาธารณะชนิดอื่น เหตุผลเหล
นับตั้งแต่ปี ค.ศ.1992 องค์การสหประชาชาติ (United  Nations) ประกาศให้วันที่ 3 ธันวาคมของทุกปีเป็น "วันคนพิการสากล" (International day of persons with disability) เพื่อรำลึกถึงวันที่ 3 ธันวาคม 2525 สมัชชาใหญ่แห่งองค์การสหประชาชาติได้รับรองแผนปฏิบัติการโลกว่าด้วยเรื่องคนพิการ (WPA-World Programme of
แม้ในทางการแพทย์ ภาวะซึมเศร้าเพิ่งมีเกณฑ์การวินิจฉัยอย่างเป็นมาตรฐานเมื่อประมาณ 69 ปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดีซึมเศร้ากลับเป็นเรื่องที่พูดกันมาเป็นพันๆ ปีแล้ว หากแต่ บริบททางสังคมและความก้าวหน้าทางการแพทย์ส่งผลให้คำว่า ‘โรคซึมเศร้า’ และ ‘ซึมเศร้า’ มีความแตกต่างกันในแต่ละยุคสมัย 
“การมุ่งเน้นที่ความแตกต่างและมองข้ามสิ่งที่รวมเราให้เป็นหนึ่ง ยิ่งทำให้เกิดการแบ่งแยกและกีดกัน สิ่งเหล่านี้บั่นทอนเป้าหมายและความสำเร็จที่เราสามารถมีร่วมกันได้ แท้จริงแล้ว ความแตกต่างยิ่งทำให้เราแข็งแกร่ง”