Skip to main content
เมื่อวันที่ 11 มี.ค.เวลา 20.22 น.ที่ผ่านมา แฟนเพจเฟสบุ๊ก Accessibility Is Freedom โพสต์ภาพกระจกลิฟต์ของบีทีเอสสถานีอโศกที่แตกจากการทุบ  ทราบภายหลังว่าเป็นมานิตย์ อินทร์พิมพ์ หรือซาบะ นักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิคนพิการและแอดมินของแ
งานวิจัยชิ้นล่าสุดพบว่า เลือดและปัสสาวะสามารถวินิจฉัยภาวะออทิสติกได้ โดยอาศัยสารชี้วัดทางชีวภาพ (biomarker) ที่มีอยู่ในของเหลวทั้งสองชนิดระบุภาวะความพิการในเด็กอายุน้อย ซึ่งใช้เวลาตรวจเพียงหนึ่งวันเท่านั้น
คณะคนหน้าขาวภายใต้การกำกับของมูลนิธิเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป ร่วมกับหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร จัด"เทศกาลหัวใจพองโต"งานรำลึกถึงไพฑูรย์ ไหลสกุล (อั๋น คนหน้าขาว) นักละครใบ้คนสำคัญของไทยซึ่งเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจในเมื่อวันที่ 8 พ.ย. 60 
เมื่อวันที่ 22 ก.พ.61 มิวเซียมสยาม จัดงานเสวนา "Museum Infocus 2018" ในหัวข้อ “งานการศึกษาในพิพิธภัณฑ์เพื่อผู้พิการ” โดยมี เบญจวรรณ พลประเสริฐ ภัณฑารักษ์พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย, บุรินทร์ สิงห์โตอาจ นักการศึกษาอิสระ และยุภาพร ธัญวิวัฒน์กุล นักการศึกษามิวเซียมสยาม ร่วมเล่าประสบการณ์การจัดงาน
เว็บไซต์บีบีซีนำเสนอเรื่องราวของสเตฟ ซานจาติ ยูทูปเบอร์สาวข้ามเพศ ที่สร้างแรงบันดาลใจจากการก้าวข้ามความพิการและอคติเรื่องเพศ แม้จะเคยถูกเรียกว่า คนหน้าปลา หรือกีดกันจากกลุ่มเด็กผู้ชายเมื่อเธอเปิดตัวว่าเป็นเกย์ แต่สเตฟในวันนี้กลับเป็นแรงบันดาลใจและมีความสุขกับความแตกต่างของตัวเอง
อาจารย์เทคโนโลยีราชมงคลพระนครออกแบบโต๊ะสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย ไม่ว่าจะใช้มือ เท้าหรือปากในการเขียนก็สามารถทำได้อย่างสะดวก เชื่ออุปกรณ์ที่เหมาะสมจะช่วยให้การสอนมีประสิทธิภาพ
เมื่อ 8 ปีก่อน อีวาน โอเวนซิ่งนักออกแบบหุ่นยนต์และกลไกในภาพยนตร์ “ทรานฟอร์เมอร์” ได้ออกแบบนิ้วเทียมและพิมพ์ด้วยเครื่องมือสามมิติเพื่อให้ช่างไม้ชาวแอฟริก้าใต้ที่ถูกเครื่องจักรตัดนิ้วมือทดลองใช้ และปรากฎว่าสามารถใช้งานได้อย่างดี จนนำไปใช้กับกลุ่คนที่ประสบอุบัติเหตุจนพิการ และขยายไปทดลองใช้กับกลุ่มเด็กที่ถูกถุงน้ำคร่ำรัดมือจนไม่ไม่นิ้วขณะอยู่ในครรภ์อีกด้วย
เมื่อวันที่ 25 ม.ค.2561 สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ และกระทรวงสาธารณะสุข ได้จัดการประชุมเชิงวิชาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน (CBR Forum 2018) โดยมีเวที “เพราะเด็กก็คือเด็ก ” (Because a child is a child)  ซึ่งได้รับความสนใจและมีผู้ร่วมเสวนาหลายคน ได้แก่ ปิยะนุช ชัชวรัตน์ ประธานศูนย์บ้านทอฝัน สมาคมสมาคมพัฒนาศักยภาพบุคคลออทิสติก จ.เชียงราย, ดร.สุจินต์ สว่างศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนลพบุรีปัญญานุกุล จ.ลพบุรี, ประสานทอง จันทมณี ผู้อำนวยการโรงเรียนเขากลอย จ.สงขลาและจันทนา เจริญวิริยะภาพ ประธานชมรมผู้บกพร่องทางการเรียนรู้ จ.สงขลา
เราเคยเห็นคนพิการถูกนำแสนอในสื่อแบบไหนบ้าง? คงปฏิเสธไม่ได้ว่า ภาพน่าสงสารมักมาพร้อมกับคนพิการในสื่ออย่างอัตโนมัติ เพราะอะไรคนพิการในสื่อจึงต้องน่าสงสาร นอกจากเรื่องความน่าสงสารและประเด็นดราม่าแล้ว ชีวิตคนพิการมีมิติไหนให้นำเสนออีกบ้างหรือเปล่า 
จากสถิติแล้วมีคนพิการที่อยู่ในวัยทำงานเพียงไม่กี่เปอเซ็นต์ที่มีงานทำ แม้จะมีกฏหมายที่เข้ามาช่วย หรือมีการจ้างงานแบบใหม่ๆ ที่เอื้อให้คนพิการทำงานใกล้บ้าน แต่การไม่เข้าถึงสิ่งพื้นฐานแรกเริ่มอย่างการศึกษาก็ทำให้คนพิการขาดโอกาสการเข้าถึงอาชีพในอนาคตฟังประสบการณ์การทำงานของคนพิการว่า การทำงานเปลี่ยนชีวิต และสร้างโอกาสในการใช้ชีวิตอิสระได้อย่างไร แล้วทำอย่างไรคำว่า คนพิการและอาชีพ จะสามารถรวมกันได้อย่างกลมกลืน