จากข้อมูลของรายงานสถานการณ์คนพิการโดยกรมส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ เมื่อช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่า ในทางปฏิบัติแม้คนพิการเข้าถึงการเรียนฟรี แต่เมื่อพวกเขาเรียนจบกลับไม่ได้เป็นสิ่งการันตีว่า คนพิการจะมีอาชีพเท่าเทียมกับคนอื่น ในปีที่ผ่านมามีคนพิการ จบการศึกษาระดับอุดมศึกษากว
สราญภัทร อนุมัติราชกิจ อธิบดีกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พก.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เปิดเผยว่าจากการชุมนุมเพื่อเรียกร้องสิทธิคนพิการเมื่อวันที่ 10 ธ.ค.ที่ผ่านมา (อ่านที่นี่) ซึ่งมีการเรียกร้องหลายข้อ เช่น
“ผมคิดว่าไม่มีใครอยากขายความเวทนาของตัวเองเพื่อมีชีวิตรอด เมื่อเข้าถึงสวัสดิการคนพิการก็สามารถตัดสินใจเองได้มากขึ้น เช่นไม่จำเป็นต้องมานั่งง้อพ่อ ง้อแม่ว่าจะแต่งชุดแบบไหนเพราะเขามีเงินพอที่จะจ้างผู้ช่วยคนพิการ สามารถดูแลตัวเองได้ เข้าถึงอาชีพได้มากขึ้น”
ปีนี้เริ่มจ่ายเบี้ยยังชีพคนพิการอัตราใหม่ 1,000 บาทต่อคนต่อเดือนเฉพาะคนพิการ 2 กลุ่มคือ กลุ่มคนพิการอายุไม่เกิน 18 ปี และคนพิการที่มีทั้งบัตรคนพิการและบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ คำถามจากคนพิการเกิดขึ้นมากมายว่าทำไมเบี้ยคนพิการจึงไม่ถ้วนหน้า ทำไมคนพิการบางคนได้ 800 บาท บางคนได้ 1,000 บาท และการได้เบี้ยค
10 ธันวาคม เวลาประมาณ16.30 น.
“ไอแอลเป็นส่วนหนึ่งของสิทธิมนุษยชน เพราะทำให้คนพิการที่รู้สึกตัวเองด้อยค่า สามารถกลับมาใช้ชีวิตได้อีกครั้ง แต่หน่วยงานรัฐกลับไม่อินเรื่องนี้ จนทำให้เรื่องไอแอลกลายเป็นเรื่องชายขอบ”
17 สิทธิคนพิการ ที่ทุกคนควรรู้!เปิด 17 สิทธิคนพิการที่ทุกคนควรรู้ ตั้งแต่เรื่องเบี้ยยังชีพ ค่าเดินทาง รักษาพยาบาล ไปจนถึงการปรับปรุงบ้านให้เหมาะสมกับความพิการ เพราะคนพิการมีสิทธิที่ใช้ได้ตลอด คนพิการเป็นคนไทย ไทยแปลว่าอิสระ คนพิการต้องสามารถเข้าถึงสิทธิและใช้ชีวิตได้อ