Skip to main content
สราญภัทร อนุมัติราชกิจ อธิบดีกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พก.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เปิดเผยว่าจากการชุมนุมเพื่อเรียกร้องสิทธิคนพิการเมื่อวันที่ 10 ธ.ค.ที่ผ่านมา (อ่านที่นี่) ซึ่งมีการเรียกร้องหลายข้อ เช่น
จากกรณีที่ ปารีณา ไกรคุปต์ ส.ส.พรรคพลังประชารัฐโพสต์เฟซบุ๊กระบุถึงว่า “ก้อย อัชราพร คือใคร...ดาราหน้าแบ๊ว หรือออทิสติกกันแน่...จึงได้เล่นเป็นแค่ตัวตลก ตลกหกฉาก และเธอคือใคร ตกอับหรือไม่ จึงต้องมาโหน พล.อ.ประยุทธ์ ดัง” เพื่อพูดถึงก้อย-อรัชพร โภคินภากร ดารานักแสดงนั้น
“ผมคิดว่าไม่มีใครอยากขายความเวทนาของตัวเองเพื่อมีชีวิตรอด เมื่อเข้าถึงสวัสดิการคนพิการก็สามารถตัดสินใจเองได้มากขึ้น เช่นไม่จำเป็นต้องมานั่งง้อพ่อ ง้อแม่ว่าจะแต่งชุดแบบไหนเพราะเขามีเงินพอที่จะจ้างผู้ช่วยคนพิการ สามารถดูแลตัวเองได้ เข้าถึงอาชีพได้มากขึ้น”
คนตาบอดเห็นผีหรือไม่? ผีเป็นอย่างไรในโลกของคนตาบอด เต๋า ศิวนาถ มณีแดง เล่าให้เราฟังถึงโลกวิญญาณว่าเป็นอย่างไร ประสบการณ์ที่เขาเจอ และสื่อที่คนตาบอดเข้าถึงได้เป็นแบบไหนกัน
ที่เนเธอแลนด์ หากถามว่า อาชีพอะไรที่เหมาะกับผู้มีภาวะดาวน์ซินโดรม?  คำตอบที่ได้คงเป็นอาชีพที่พวกเขาเองสนใจและอยากทำ คนที่นี่ได้รับการฝึกฝนให้พวกเขาสามารถทำอาชีพตามฝันได้ และพวกเขาก็ทำหลายต่อหลายอาชีพ  ชวนมาดูกันว่า ค
ปีนี้เริ่มจ่ายเบี้ยยังชีพคนพิการอัตราใหม่ 1,000 บาทต่อคนต่อเดือนเฉพาะคนพิการ 2 กลุ่มคือ กลุ่มคนพิการอายุไม่เกิน 18 ปี และคนพิการที่มีทั้งบัตรคนพิการและบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ คำถามจากคนพิการเกิดขึ้นมากมายว่าทำไมเบี้ยคนพิการจึงไม่ถ้วนหน้า ทำไมคนพิการบางคนได้ 800 บาท บางคนได้ 1,000 บาท และการได้เบี้ยค
“เวลาที่เราพูดถึงสิ่งอำนวยความสะดวกเรามักจะไม่ค่อยพูดถึงมิติด้านเวลาซึ่งมีความสำคัญมากสำหรับทุกคน คนพิการเวลาของเขาก็มีค่า ในขณะที่คนทั่วไปถ้าถามว่าให้ไปใช้แบบนั้นแล้วจะใช้มั้ยก็ไม่ใช้”
กระแสการชุมนุมของฝ่ายประชาธิปไตยที่เริ่มขึ้นจากกลุ่มนักศึกษาทำให้เกิดการขับเคลื่อนประเด็นแตกแยกย่อยออกไปในหลายประเด็น ทั้งประเด็นความหลากหลายทางเพศ แรงงาน การศึกษา ศิลปะ รวมถึงประเด็นคนพิการด้วยเช่นกัน แฮชแทกที่เกิดขึ้นอย่าง #ถ้าการเมืองดี ถูกเอามาใช้เล่าถึงปัญหาทางสังคมต่างๆ มากมาย Thi