Skip to main content
สัปดาห์แรกของโครงการ Accessibility and Universal Design 2017/2018 เพิ่งผ่านพ้นไป สัปดาห์ที่ผ่านมาเป็นสัปดาห์แห่งการเริ่มต้น ทำความรู้จัก และปรับตัว เราและเพื่อนคนพิการอีก 16 คนจาก 6 ชาติอาเซียนเริ่มเข้าขากันมากขึ้น รวมถึงเริ่มคุ้นเคยกับกระบวนกรและอาสาสมัครที่คอยมาช่วยเหลือดูแล การมามาเลเซียครั้งนี้ นับเป็นเรื่องแปลกใหม่ที่ดึงดูดใจเรามากขึ้นเรื่อยๆ ในทุกวัน เพราะได้เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับ Accessibility and Universal Design ตั้งแต่ขั้นเริ่มต้น ชนิดที่ต้องถามกันว่า Accessibility and Universal Design คืออะไร? จนกระทั่งการหาคำตอบของคำถามที่ว่า คนพิการอย่างเราจะสามารถตรวจสอบมาตรฐานของการเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกและการออกแบบเพื่อคนทั้งมวลได้อย่างไร?
 ศาลพระภูมิ ดิสนีย์แลนด์ คุกกี้เสี่ยงทาย และดอกไม้จันทน์ หากถามว่า 4 สิ่งนี้มีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร เราอยากให้คุณได้ไปลองค้นหาคำตอบนั้นในละครเวทีเรื่อง “เสียงก้อง..ในห้องมืด The Echo” ที่จะนำคุณดำดิ่งไปกับความทรงจำที่อยู่ก้นบึ้งของจิตใจ ความทรงจำอันเลวร้ายที่ไม่ว่าคุณจะพยายามลบเลือน บิดเบือน หรือกดทับมันไว้ ท้ายที่สุดมันจะกลับมาหลอกหลอนจนคุณไม่อาจรู้ได้ว่า ความเป็นจริงอันเลวร้ายที่คุณพยายามจะลืม กับความจริงที่คุณสร้างขึ้นมาทดแทน สิ่งไหนจะกลับมาทำร้ายคุณได้มากกว่ากัน
ครั้งแรกที่คุณเคยคุยกับคนพิการคือที่ไหน ริมถนน บนฟุตปาธ ที่งานกาชาด หรือแผงหวย แล้วอะไรทำให้คุณได้มีโอกาสรู้จักพวกเขา เพราะเป็นคนรู้จัก เป็นญาติ เป็นเพื่อนบ้าน หรือคุณอยากรู้จักเพราะรู้สึกสงสาร พวกคุณคุยกันเรื่องอะไร ชีวิต การเมือง ท่องเที่ยว หรือเวรกรรม ผมไม่มั่นใจนักว่าแต่ละคนจะชวนอีก
หลายคนมักเข้าใจว่า สิ่งอำนวยความสะดวก (Accessibility) และการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) เป็นเรื่องที่ทำขึ้นเพื่อคนพิการ แต่จริงๆ แล้วทั้งสองอย่างนี้ไม่ได้มีประโยชน์เฉพาะแค่กับคนพิการ เพราะสิ่งอำนวยความสะดวกและพื้นที่ที่เหมาะสม ช่วยให้คนทุกคนใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ถ้าห้องน้
         ผมค่อยๆ เขยกเท้าขึ้นสะพานลอยแบบทุลักทุเล มันทั้งเจ็บและทรมาน แผลจากการเหยียบหินตอนไปทะเลมีครบทั้งสองข้าง เท้าแทบลงน้ำหนักเวลาเดินไม่ได้ ทั้งที่ไม่ได้มีใครเดินตามมา เรากลับกังวลว่า คนที่จะเดินตามมาเขาจะหาว่าเราเดินช้า ทั้งหมดเป็นความกังวลของตัวเองล้วนๆ ผมอยู่บนสะพานลอยเดิมที่รอบนี้ใช้เวลา
เราไม่สามารถปฏิเสธได้เลยว่าในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีได้เติบโตและพัฒนาขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้กลุ่มผู้ใช้งานทั้งหลายได้เข้าถึงและใช้งานง่าย และในขณะเดียวกันก็มีแอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่คนพิการอีกด้วย มาดูกันดีกว่าว่ามีแอปพลิเคชันอะไรบ้าง
ความพิการเป็นอุปสรรคสำคัญอย่างหนึ่งในการใช้ชีวิตของมนุษย์ การมีอวัยวะไม่ครบสมบูรณ์ทำให้หลายคนไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ หลายกรณี รัฐซึ่งมีฐานะเป็นเจ้าของคนพิการนั้นจำเป็นต้องเข้ามาให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ ตั้งแต่การฟื้นฟูไปจนถึงจัดหาสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ในการใช้ชีวิต
หลายครั้งในช่วงเวลาหนึ่งของชีวิตก็ต้องมีกันบ้างที่รู้สึกเบื่อ เหนื่อยหน่าย หรือหมดแรงในการทำสิ่งต่างๆ วันนี้ ThisAble.me จึงมีภาพยนตร์ที่หลายๆ คนบอกกันว่า ช่วยเพิ่มแรงบันดาลใจ อุ่นวอร์มร่างกาย และสร้างความเข้าใจเพื่อเตรียมพร้อมกับการทำงานและใช้ชีวิตต่อไปอีกครั้งกับภาพยนตร์ 10 เรื่องที่มีตัวเอกเป็นคนพิการ
29 พ.ย. 2560 สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) จัดงานการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่องข้อมูลเกี่ยวกับคนพิการ สำหรับการสร้างตัวละครในสื่อ ซึ่งในงานสัมมนาครั้งนี้มีทีมผู้เขียนบทละครชื่อดังร่วมพูดคุยกับคนพิการเรื่องประการณ์และให้ข้อมูลเพื่อนำไปเป็นแรงบันดาลใจในการผลิตผลงาน  โดยการจัดงานสัมมนาในครั้งนี้เป็นการร่วมมือระหว่างบริษัท กล่องดินสอ จำกัดและสำนักงาน คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) 
เทือกเขาสูงใหญ่ขนาดเกือบ 300,000 ตารางกิโลเมตร ที่ปกคลุมหลายสิบประเทศในทวีปยุโรป รายล้อมด้วยยอดเขากว่าร้อยลูก เป็นหนึ่งในตำนานเทือกเขาที่คร่าชีวิตผู้คนในประวัติศาสตร์มาแล้วนับไม่ถ้วน ด้วยความสูงกว่าระดับน้ำทะเลถึง 4,815 เมตรจึงทำให้ภูมิอากาศที่นั่นหนาวเย็นมากเป็นพิเศษ บวกกับเส้นทางแสนยากลำบากที่น