Skip to main content
"...องค์ความรู้เรื่องความพิการนั้นต้องเปิดใจคุยในระดับนักวิชาการด้วย ไม่ใช่มาฟังแต่ปัญหาคนพิการ ฟังเสร็จเราต้องเอาปัญหาคนพิการมาวิเคราะห์เลยว่า บทบาทของใครต้องทำเรื่องนี้ให้ได้"
"..ที่ผ่านมา คนพูดส่วนใหญ่มักจะพูดแต่เรื่องกว้างๆ แต่ไม่เคยลงมาสัมผัสเชิงลึก ไม่มีใครเคยวิเคราะห์โครงสร้างปัญหาของคนพิการในกระทรวงสาธารณสุขอย่างจริงจัง บางคนก็พูดว่ามีกรมการแพทย์แล้วไง กรมการแพทย์ก็ไปทำ หรือให้หมอเข้าไปทำ แต่เขาไม่รู้เลยว่างานคนพิการนั้นเป็นแค่งานเล็กๆ ในกระทรวงสาธารณสุข และเป็นหน่วยเล็กๆ ในกรมการแพทย์เท่านั้นเอง"
"...กองทุนคนพิการมีเงินไหลเข้าเป็นท่อขนาด 6 นิ้ว แต่เงินไหลออก 5 มิลลิเมตร มันก็โป่งพอขึ้นเหมือนอึ่งอ่าง และสุดท้ายท้องอาจจะแตกตายเสียก่อน"
ความลักลั่นของระบบกองทุนสุขภาพของเมืองไทย คือร่มใหญ่ที่นำมาสู่ปัญหาของความเหลื่อมล้ำ หากแต่นั่นไม่ใช่เหตุผลเดียวที่เป็นช่องโหว่ของบริการสุขภาพคนพิการ เพราะด้วยโครงสร้างและข้อบัญญัติ รวมไปถึงความหลากหลายของคนพิการเองก็นำมาสู่ข้อถกเถียงมากมาย
หนึ่งในปัจจัยที่ทำให้กระบวนการการเข้าถึงบริการสุขภาพของคนพิการยังไม่สามารถพัฒนาได้อย่างเต็มที่คือ ‘กองทุนหลักประกันสุขภาพ’
ถ้ามองภาพรวมของระบบบริการสุขภาพไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน จะพบว่ามีการพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะทัศนคติเรื่องความพิการ เพราะต้องยอมรับว่าแต่ก่อนสังคมมองความพิการเป็นโรคภัยไข้เจ็บที่ต้องรักษา หากแต่ทุกวันนี้สังคมเริ่มเข้าใจและเริ่มปรับตัวเพื่อทำให้คนพิการสามารถเข้ารับบริการสุขภาพอย่างมาตรฐาน
คนตาบอดแต่งหน้ายังไงนะ? คุยกับผู้หญิงตาบอด ที่แต่งหน้าเป็นกิจวัตร แลกเปลี่ยนว่าเธอแต่งหน้าอย่างไร หยิบจับเครื่องสำอางอย่างไร และมีความแตกต่างอย่างไรกับผู้หญิงที่ไม่พิการ เริ่ม!
สิ่งที่ถูกมองว่า 'ปกติ' หรือ 'ไม่ปกติ' นั้นไม่ใช่สิ่งที่เป็นเช่นนั้นแต่แรก แต่เป็นการกำหนดคุณค่าเอาเองของคนในแต่ละสังคม เรื่องเหล่านี้จึงเป็นได้ทั้งเครื่องมือทางการเมือง บางมุมก็กลายเป็นอุปสรรคทางวิทยาศาสตร์ ขณะเดียวกันก็เป็นสิ่งที่ปรับเปลี่ยนให้คนที่เคยถูกมองว่าเป็นคนนอกของสังคมอย่างคนพิการหรือมีปัญหาทางการเรียนถูกมองเป็นคนเหมือนปกติทั่วไปมากขึ้นได้