Skip to main content
เขียนโดย จินต์จุฑา พันธุ์ทองคำและ พลอยวรินทร์ ชิวารักษ์งานชิ้นนี้เป็นผลงานจากรายวิชา สิทธิมนุษยชนและวารสารศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
“หากคุณอยู่ในร้านอาหาร คุณเห็นพื้นที่สำหรับ “ทุกคน” แล้วหรือยัง? และคุณคิดว่าพื้นที่สำหรับผู้พิการควรถูกทำให้เห็นได้อย่าง “ชัดเจน” ในทุกร้านอาหารและทุกหนแห่งหรือไม่”
เมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบร่างกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับคนพิการและคนชรา ฉบับที่ .. พ.ศ. ….
รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีระบุว่า คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบร่างกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับคนพิการและคนชรา ฉบับที่ .. พ.ศ. ….
เช้านี้ (4 มี.ค.62) ภาคีเครือข่ายขนส่งมวลชนทุกคนต้องขึ้นได้ และเครือข่ายคนพิการหลากหลายประเภท เดินทางรวมตัวหน้าศาลปกครอง ถนนแจ้งวัฒนะ เพื่อแถลงข่าวและรับฟังคำพิพากษากรณียื่นฟ้องค่าเสียหายบีทีเอสรายคน สืบเนื่องจากกรณีที่ศาลปกคร
ในวันนี้ 21 ม.ค. 2562 เป็นวันครบรอบ 4 ปี หลังศาลปกครองสูงสุดตัดสินให้ บีทีเอสต้องสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี (นับจาก 21 ม.ค. 2558) ThisAble.me  จึงอยากชวนคุณย้อนดูความเป็นมาเรื่องการสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกบนรถไฟฟ้าบีทีเอสตั้งแต่กลุ่มคนพิการเริ่มลุกขึ้นต่อสู้ในปี 2534 ซึ่งนับเป็น 27 ปีที่ยาวนาน และเหน็ดเหนื่อยสำหรับเครือข่ายคนพิการและผู้ที่เกี่ยวข้อง 
เมื่อวันที่ 11 มี.ค.เวลา 20.22 น.ที่ผ่านมา แฟนเพจเฟสบุ๊ก Accessibility Is Freedom โพสต์ภาพกระจกลิฟต์ของบีทีเอสสถานีอโศกที่แตกจากการทุบ  ทราบภายหลังว่าเป็นมานิตย์ อินทร์พิมพ์ หรือซาบะ นักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิคนพิการและแอดมินของแ