Skip to main content
ชวนรื้อกระเป๋าใน นลัทพร ไกรฤกษ์ บรรณาธิการเว็บไซต์ thisable.me ว่าข้างในมีอะไรบ้าง พกของอะไรเป็นแบบไหน เมื่อต้องนั่งวีลแชร์ของจะเป็นแบบไหน “ล้วงกระเป๋าคนพิการ” ตอนแรกอยากชวนไปล้วงกระเป๋าคนใกล้ตัว ว่ามีอะไรบ้าง ชิ้นไหนน่าขโมย(ล้อเล่น) หรือบอกเล่าเรื่องราวอะไรในฐานะคนเป็นกล้ามเนื้ออ่อนแรง
เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้ว ว่า TEDTALK คือเวทีของการถ่ายทอดประเด็นที่น่าสนใจให้เกิดขึ้นกับสังคมบ่อยๆ จากการนำคนจากหลายหลายวงการมาบอกเล่า เรื่องราวที่พวกเขาได้เจอ หลายเรื่องก็ยกระดับไปสู่การเปลี่ยนแปลงมาแล้ว 
เราเคยเห็นคนพิการถูกนำแสนอในสื่อแบบไหนบ้าง? คงปฏิเสธไม่ได้ว่า ภาพน่าสงสารมักมาพร้อมกับคนพิการในสื่ออย่างอัตโนมัติ เพราะอะไรคนพิการในสื่อจึงต้องน่าสงสาร นอกจากเรื่องความน่าสงสารและประเด็นดราม่าแล้ว ชีวิตคนพิการมีมิติไหนให้นำเสนออีกบ้างหรือเปล่า 
ทำไมเรื่องหลายครั้งเรื่องความพิการต้องเป็นเรื่องน่าเศร้า ทำไมเราต้องทำให้คำว่า "พิการ" เป็นเรื่องที่ เซนซิทีฟในมุมของผู้ที่ไม่พิการ นี่คือคำถามเริ่มต้น ก่อนจะเกิดเป็นงานในครั้งนี้
“เราคุยกันทางโทรศัพท์ น้องชายเป็นคนคุย ผมไม่ได้คุยเอง (หัวเราะ) คุยกันมาอาทิตย์กว่าๆ ก็ไปรับมาอยู่ด้วย ขอเขามาแต่งงานเป็นเมีย ก็บอกไม่ถูกว่าเขาน่ารักตรงไหน ชอบเขาที่เขาขยัน ตื่นเช้าทำงานบ้าน ดูแลลูก ตอนพาไปให้อาดูตัว อาก็บอกว่าอยากได้ก็เอา ก่อนหน้านี้เคยพาไปให้อาดูหลายคน อาก็บอกว่า คนนี้ตื่นสายขี
ทำไมเราถึงนึกไม่ค่อยออกว่า คนพิการมีชีวิตคู่กันอย่างไร เขาจะมีลูกกันไหมนะ หรือเขาจะเคยมีแฟนกันบ้างหรือเปล่า ฯลฯ นี่อาจสะท้อนถึงคำพูดที่ว่า ตลอดเวลาที่ผ่านมา ‘เพศและความพิการ’ มักถูกแยกขาดออกจากกันโดยสิ้นเชิง คนพิการหลายคนไม่เคยเรียนรู้เรื่องเพศ บ้างก็โดนกีดกันให้อยู่ห่าง บ้างก็หวาดกลัวเพราะความไม
ฉายอคติสังคมมองคนพิการไร้เพศ ไม่ยอมให้ความรู้เรื่องเพศ แต่หญิงพิการกลับเป็นเหยื่อคุกคามทางเพศมากกว่าผู้หญิงทั่วไป 1.5-10 เท่า ซ้ำหญิงพิการหลายรายถูกจับทำหมัน ตั้งคำถาม-พวกเธอมี ‘สิทธิ’ ในเนื้อตัวร่างกายมากแค่ไหน
ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับล่าสุด สิทธิการเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกและสิทธิที่จะได้รับการสนับสนุนทางการศึกษาของคนพิการกำลังจะไม่ใช่สิทธิที่คนพิการพึงได้รับอีกต่อไป เพราะสิทธินั้นกลับกลายเป็น ‘หน้าที่รัฐ’ แต่อะไรจะเป็นหลักประกันที่ทำให้คนพิการมั่นใจได้ว่าจะได้รับสิทธิจากหน้าที่เหล่านั้น แล้วหากรัฐไม่ทำ ใครเล่าจะจัดการ
 นิทรรศการภาพวาดโดยน้องๆ ผู้พิการทางสายตา โดยใช้อุปกรณ์ ‘เล่นเส้น’ เกิดเป็นเส้นนูน สัมผัสได้ ทำให้น้องๆ ได้แสดงจินตนาการ และทำให้คนตาดีอย่างเราๆ ได้เข้าใจมุมมองในโลกของพวกเขามากขึ้น