Skip to main content
เมื่อเพื่อนเจอกับเหตุการณ์ไม่คาดคิดอย่างการพบว่า ลูกของตัวเองมีภาวะดาวน์ซินโดรม ในฐานะ "เพื่อน" แม้จะไม่มีความรู้ที่จะแนะนำ แต่การรับฟังก็ถือเป็นการกระทำที่ยิ่งใหญ่ “มึงมีอะไรแวะมาคุยกับกูได้ทุกเมื่อ”
เมื่อวันที่ 21 เม.ย.ที่ผ่านมา สภานิติบัญญัติแห่งชาติเห็นชอบสนธิสัญญามาร์ราเคช เพื่ออำนวยความสะดวกการเข้าถึงงานที่มีการโฆษณาแล้ว สำหรับคนตาบอด คนพิการทางการเห็นหรือคนพิการทางสื่อสิ่งพิมพ์
เสวนา “บทบาทสื่อกับการส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิการเลือกตั้งของคนพิการ” โดยเว็บไซต์ thisable.me ชี้สื่อต้องรณรงค์ให้คนพิการตระหนักถึงสิทธิการเลือกตั้ง รัฐควรจัดสิ่งอำนวยความสะดวกทางกายภาพ ร่วมกับสื่อเพิ่มช่องทางนำเสนอข้อมูลข่าวสารการเลือกตั้งที่หลากหลายคำนึงถึงกลุ่มคนพิการ
"..ถึงแนวคิด IL จะไม่ประสบความสำเร็จมากนักในเชิงปริมาณ แต่ในเชิงคุณภาพแล้ว ถือว่ามีส่วนสำคัญที่ทำให้คนพิการสามารถลุกขึ้นมาหยัดยืนได้อีกครั้งในฐานะมนุษย์"
เมื่อวันที่ 4 เม.ย.ที่ผ่านมา เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้เผยแพร่ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เรื่อง การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของคนพิการ ให้เข้าถึงหรือรับรู้และใช้ประโยชน์จากรายการของกิจการโทรทัศน์ (ฉบับที่ 2) โดยเห็นควรแก้ไขเพิ่มเติมหลักเกณฑ์
"...องค์ความรู้เรื่องความพิการนั้นต้องเปิดใจคุยในระดับนักวิชาการด้วย ไม่ใช่มาฟังแต่ปัญหาคนพิการ ฟังเสร็จเราต้องเอาปัญหาคนพิการมาวิเคราะห์เลยว่า บทบาทของใครต้องทำเรื่องนี้ให้ได้"
"...กองทุนคนพิการมีเงินไหลเข้าเป็นท่อขนาด 6 นิ้ว แต่เงินไหลออก 5 มิลลิเมตร มันก็โป่งพอขึ้นเหมือนอึ่งอ่าง และสุดท้ายท้องอาจจะแตกตายเสียก่อน"
ความลักลั่นของระบบกองทุนสุขภาพของเมืองไทย คือร่มใหญ่ที่นำมาสู่ปัญหาของความเหลื่อมล้ำ หากแต่นั่นไม่ใช่เหตุผลเดียวที่เป็นช่องโหว่ของบริการสุขภาพคนพิการ เพราะด้วยโครงสร้างและข้อบัญญัติ รวมไปถึงความหลากหลายของคนพิการเองก็นำมาสู่ข้อถกเถียงมากมาย