Skip to main content
คุณจะทำอย่างไร หากไม่สามารถสื่อสารกับคนอื่นในสังคมได้ ไม่แม้แต่จะสามารถพูดสองสามคำเพื่อสั่งข้าวสักจาน คุยประสานงานกับลูกค้า หรือไม่สามารถติดต่อร้องทุกข์ราชการได้เพราะไม่มีใครสามารถสื่อสารกับคุณได้เลย 
ตั้งแต่ จ.เด็กๆ ภาพของคนพิการที่เขาเห็นนั้นมีไม่มาก ส่วนมากก็มาจากหนังจีนหรือละครไทย ความคุ้นเคยที่มีต่อความพิการจึงเกิดขึ้นจากการเลียนแบบสื่อเหล่านั้น Thisable.me ชวนคุยกับ จ.
“คนพูดว่าคนพิการเป็นคนสุดท้ายที่ถูกนึกถึง เป็นการเปรียบเทียบกับสิ่งที่เกิดขึ้น ถามว่ามันเป็นแบบนั้นไหม ในแผนต่างๆ ที่เกิดขึ้น คนพิการก็เหมือนคนอื่น คือเน้นการตั้งรับและถูกช่วย การช่วยเหลือนั้นไม่ได้คำนึงถึงความต้องการของเขา”
ท่ามกลางช่วงที่ผ่านมา ทั่วโลกต่างออกมาต่อต้านการบูลลี่กันและกัน ไม่ว่าจะเพราะเพศ รูปร่าง หน้าตา สีผิวหรือแม้แต่ความพิการ เช่นเดียวกับในประเทศไทย กระแสของการใช้รูปลักษณ์และความพิการมาโจมตีก็ถูกต่อต้าน คนในสังคมมีความตระหนักและเรียนรู้เรื่องเหล่านี้เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด Thisable.me  ชวนคุยกับนิโ
สราญภัทร อนุมัติราชกิจ อธิบดีกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พก.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เปิดเผยว่าจากการชุมนุมเพื่อเรียกร้องสิทธิคนพิการเมื่อวันที่ 10 ธ.ค.ที่ผ่านมา (อ่านที่นี่) ซึ่งมีการเรียกร้องหลายข้อ เช่น
จากกรณีที่ ปารีณา ไกรคุปต์ ส.ส.พรรคพลังประชารัฐโพสต์เฟซบุ๊กระบุถึงว่า “ก้อย อัชราพร คือใคร...ดาราหน้าแบ๊ว หรือออทิสติกกันแน่...จึงได้เล่นเป็นแค่ตัวตลก ตลกหกฉาก และเธอคือใคร ตกอับหรือไม่ จึงต้องมาโหน พล.อ.ประยุทธ์ ดัง” เพื่อพูดถึงก้อย-อรัชพร โภคินภากร ดารานักแสดงนั้น
“ผมคิดว่าไม่มีใครอยากขายความเวทนาของตัวเองเพื่อมีชีวิตรอด เมื่อเข้าถึงสวัสดิการคนพิการก็สามารถตัดสินใจเองได้มากขึ้น เช่นไม่จำเป็นต้องมานั่งง้อพ่อ ง้อแม่ว่าจะแต่งชุดแบบไหนเพราะเขามีเงินพอที่จะจ้างผู้ช่วยคนพิการ สามารถดูแลตัวเองได้ เข้าถึงอาชีพได้มากขึ้น”
ที่เนเธอแลนด์ หากถามว่า อาชีพอะไรที่เหมาะกับผู้มีภาวะดาวน์ซินโดรม?  คำตอบที่ได้คงเป็นอาชีพที่พวกเขาเองสนใจและอยากทำ คนที่นี่ได้รับการฝึกฝนให้พวกเขาสามารถทำอาชีพตามฝันได้ และพวกเขาก็ทำหลายต่อหลายอาชีพ  ชวนมาดูกันว่า คนที่มีภาวะ