Skip to main content
ฐิติพร พริ้งเพริ้ด ถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าตั้งแต่ปี 44 ในตอนที่คนยังไม่รู้จักคำว่า “โรคซึมเศร้า” กันดีนัก ช่วงเวลาสุดท้ายก่อนที่เธอจะป่วย เธอใช้ชีวิตแบบ “ทำร้ายร่างกายอย่างหนักหน่วง” กินหนัก นอนดึกถึงขั้นไม่นอน จนเมื่ออาการโรคซึมเศร้านั้นชัดเจน เธอก็ไม่ยอมไปหาหมอ และจมอยู่
เมื่อวันที่ 14 มีนาคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดเวทีจุฬาฯ เสวนา ครั้งที่ 18 เรื่อง “เข้าใจปัญหาเยาวชนกับภาวะซึมเศร้า” เพื่อเผยแพร่ความรู้ และเสนอแนะทางออกของปัญหาความเครียด และภาวะซึมเศร้าที่เกิดขึ้นกับนักเรียน นิสิต นักศึกษา จากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญได้แก่ ผศ.ดร.ณัฐสุดา เต้พันธ์ หัวหน้าศูน
บ่อยครั้งที่เราได้อ่านเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับ 'โรคซึมเศร้า' โดยเฉพาะในสื่อสังคมออนไลน์ซึ่งนำเสนอผ่านหลายแง่มุม โดยส่วนใหญ่มักเป็นคำบอกเล่าจากปากของผู้เคยป่วยเป็นโรคซึมเศร้าซึ่งปัจจุบันหายแล้ว หรือบทความเชิงวิชาการที่ประกอบด้วยข้อมูลทางการแพทย์มากมาย เช่น อาการเบื้องต้นของโรคซึมเศร้าที่กว้างแสนกว้างจนคล้ายคลึงกับอาการเครียดปกติ แต่ผู้ป่วยที่ยังไม่หายล่ะ ผู้ป่วยที่อาการทรุดหนักลงเรื่อยๆ จนเริ่มมีอาการจิตเภทร่วมด้วย คุณเคยได้ยินเรื่องของเขาไหม เรื่องราวและโครงสร้างอันซับซ้อนของโรคซึมเศร้าที่มาจากประสบการณ์จริงที่แตกต่างจากทุกเรื่องที่คุณรู้มา และในวันนี้น้องสาวของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ปัจจุบันยังคงเป็นอยู่ทั้งยังมีอาการหลงผิดหลอนประสาทร่วมด้วยกำลังจะเล่าทุกรายละเอียดให้ฟัง