Skip to main content
หากพูดถึงงานด้านคนพิการในระดับสากล หลายคนคงคิดถึงหลักการอย่างอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการหรือ CRPD และต้นแบบของงานด้านคนพิการที่สำคัญอย่างกฏหมายคนพิการสหรัฐฯ ที่สะท้อนภาพของความเข้มแข็งของคนพิการภาคประชาสังคมผ่านการประท้วง เรียกร้องและต่อสู้เพื่อสิทธิของพวกเขา ไม่ว่าจะเป็นการใช้ชีวิตอย่า
กกต.ร่วมมืออัลเฟรลจัดระดมความเห็นหาแนวทางการเลือกตั้งให้เหมาะสมกับคนพิการ-ผุ้สูงอายุตามหลักสากลเพื่ออำนวยความสะดวกการเข้าถึงการเลือกตั้งในวันที่ 9 มี.ค.ที่จะถึง ชี้เป็นเรื่องใหญ่ที่ไทยยังไม่เคยทำ21 ก.พ.2560 สมชัย ศรีสุทธิยากร กรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) กล่าวถึงการเตรียมการสัมมนาเพื่อกำหนดแนวทางพัฒนาการจัดสถานที่เลือกตั้งสำหรับคนพิการหรือผู้สูงอายุ ในวันที่ 9 มีนาคมที่จะถึง โดยเป็นความร่วมมือระหว่าง กกต.กับเครือข่ายเอเชียเพื่อการเลือกตั้งเสรี (อัลเฟรล)การสัมมนานี้ จัดโดยเชิญผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเลือกตั้ง รวมทั้งผู้แทนคนพิการหรือผู้สูงอายุร่วมหารือระดมความเห็น เกี่ยวกับการออกแบบการจัดเลือกตั้งสำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ
ประชาชนในสหรัฐฯ วางแผนประท้วงใหญ่ภายในวันที่ 21 ม.ค. ที่จะถึงนี้หลังพิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่งของโดนัลด์ ทรัมป์  โดยมีการประเมินว่านี่อาจจะเป็นการชุมนุมของประชาชนจากหลายภาคส่วนของสังคม ที่มีประเด็นทางสังคมหลายประเด็น ในชื่อ "วีแมนส์มาร์ช" (Women's March) หรือ "การเดินขบวนของผู้หญิง" ซึ่งมีโอกาสกลายเป็นการประท้วงที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐฯ
ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับล่าสุด สิทธิการเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกและสิทธิที่จะได้รับการสนับสนุนทางการศึกษาของคนพิการกำลังจะไม่ใช่สิทธิที่คนพิการพึงได้รับอีกต่อไป เพราะสิทธินั้นกลับกลายเป็น ‘หน้าที่รัฐ’ แต่อะไรจะเป็นหลักประกันที่ทำให้คนพิการมั่นใจได้ว่าจะได้รับสิทธิจากหน้าที่เหล่านั้น แล้วหากรัฐไม่ทำ ใครเล่าจะจัดการ